Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสตถิพงศ์ พิชัยสวัสดิ์-
dc.contributor.advisorบัณฑิต เอื้ออาภรณ์-
dc.contributor.authorรัตติยา ยุทธวิชยานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-09-08T02:40:20Z-
dc.date.available2008-09-08T02:40:20Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741427131-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8021-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอวิธีการวิเคราะห์การวางแผนสายส่งให้กับสถานีไฟฟ้าแห่งใหม่ โดยรวมเข้ากับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System :GIS) ของ กฟภ. ซึ่งเป็นระบบที่จัดเก็บ ประมวลผลและสืบค้นข้อมูลทั้งเชิงแผนที่และเชิงบรรยายของอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าทั้งระบบส่งและจำหน่าย โดยมีวัตถุประสงค์ในการวางแผนเพื่อลดค่าใช้จ่ายโดยรวมในการขยายระบบให้มีค่าต่ำสุดซึ่งจะพิจารณาผลรวมของค่าใช้จ่ายทั้งหมดในปีปัจจุบัน (Present Worth Cost) อันประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการลงทุนก่อสร้างสายส่ง ค่าดำเนินการและบำรุงรักษาค่าใช้จ่ายเนื่องจากพลังงานไฟฟ้าสูญเสีย และค่าใช้จ่ายเนื่องจากความน่าเชื่อถือได้ของระบบ ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขของค่าแรงดันตกและค่าพิกัดกระแสของสายส่งที่ยอมรับได้ การเชื่อมต่อระหว่าง GIS และส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์การวิเคราะห์โหลดโฟลว์ที่เรียกว่า LFAPI (Load Flow Application Program Interface) ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้วิเคราะห์แรงดันที่บัส กระแสในสายส่งและกำลังไฟฟ้าสูญเสียเพื่อใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไขดังกล่าว การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับการวางแผนขยายสายส่งจะทำให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์และวางแผนทางเลือกในการขยายสายส่งได้บน GIS โดยตรงทำให้ได้ผลตอบที่พอเหมาะและเป็นไปได้ในทางปฏิบัติตามสภาพแวดล้อมจริง รวมทั้งทำให้มีข้อมูลที่ทันสมัยใช้ในการวิเคราะห์ ลดขั้นตอนในการจัดเตรียมข้อมูลและจัดทำรายงานผลการวิเคราะห์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนวิธีการวิเคราะห์ผลที่พัฒนาขึ้นได้นำไปทดสอบวิเคราะห์และวางแผนสายส่งให้กับสถานีไฟฟ้าในโครงการพัฒนาสายส่งและสถานีไฟฟ้าระยะที่ 9 ซึ่งพบว่าการจำลองระบบให้ผลเป็นที่น่าพอใจen
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents a method for solving a transmission line planning for a new substation by including with Geographic Information System (GIS) of Provincial Electricity Authority (PEA) which had collected, processed and queried both graphical and attribute data of any electrical system devices within a transmission and distribution system. The planning purpose is to minimize the total network expansion cost comprising investment cost, operation and maintenance cost, energy loss cost and reliability cost. In addition, the power system must be within the acceptable voltage drop and current capacity constraints. The interface between GIS and Load Flow Application Program Interface (LFAPI) is developed for the analysis of bus voltage, line current and power loss in order to checking the above constraints. The development of GIS for the transmission line expansion planning will provide the user with directly analysis and planning the transmission line expansion options in GIS, which can obtain the possible optimal result in practice. In addition, the user have the updated transmission line information for calculating load flow and reduce time in process of preparing data and performing the summary report. The developed application is tested with the solving a transmission line planning for a substation within Transmission and Substation Development project 9 (TSD 9), which obtained the satisfied result.en
dc.format.extent5734022 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1113-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์en
dc.subjectการส่งกำลังไฟฟ้าen
dc.subjectการจ่ายพลังงานไฟฟ้าen
dc.titleการประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับการวางแผนขยายสายส่งen
dc.title.alternativeGeographic information system application for transmission line expansion planningen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsotdhipong@hotmail.com, sot@energy1.ee.chula.edu-
dc.email.advisorBundhit.E@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1113-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rattiya_Yu.pdf5.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.