Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80362
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิไล อัศวเดชศักดิ์ | - |
dc.contributor.author | มณิภา วัฒกีกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-23T05:43:27Z | - |
dc.date.available | 2022-07-23T05:43:27Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80362 | - |
dc.description | สารนิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาแนวทางในการออกแบบเรขศิลป์ที่เหมาะสมเพื่อให้คนกลุ่มเจนเนอเรชั่น วาย เกิดความรู้และความเข้าใจได้ง่ายเกี่ยวกับการแพทย์ทางเลือกโฮมีโอพาธีย์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้คือ กลุ่มคนเจนเนอเรชั่น วาย ช่วงอายุระหว่าง 20 - 39 ปี เก็บรวบรวมข้อมูลสถิติจากเว็บไซต์ เอกสารงานวิจัย หนังสือ บทความทางวิชาการ และสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย นำมารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในการออกแบบ ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า กลุ่มคนเจนเนอเรชั้น วาย นั้น มีสุขภาพทรุดโทรมจากการทำงานหนัก จึงเริ่มมีการหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้นแต่ไม่มีเวลา อีกทั้งพฤติกรรมของกลุ่มกลุ่มคนเจนเนอเรชั่น วาย ใช้สมาร์ทโฟนและเล่นโซเชียลมีเดียเป็นหลัก ชอบสื่อสารและแสดง ออกผ่านสื่อใหม่และสื่อออนไลน์ต่างๆ ชอบเสพสื่อบันเทิงและชอบอ่านการ์ตูนดิจิตอลที่เป็นสื่อออนไลน์ กลุ่มเป้าหมายนั้นให้ความสนใจและพึงพอใจในการ์ตูนดิจิตอล จึงได้ผลสรุปว่าการ์ตูนดิจิตอลเป็นสื่อที่สามารถถ่ายองค์ความรู้โฮมีโอพาธีย์ที่เหมาะสมต่อกลุ่มคนเจนเนอเรชั่น วาย โดยการ์ตูนมีโครงสร้างในการเล่าเรื่องที่ละเอียดซับซ้อน สามารถถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆได้อย่างละเอียดและมีความน่าสนใจ รวมถึงสารที่ต้องการจะสื่อสำหรับการออกแบบเรขศิลป์เพื่อให้ความรู้โฮมีโอพาธีย์คือ ชีวิตที่ดีคือการเปลี่ยนแปลง และกลุ่มบุคลิกภาพที่เหมาะคือ สบายๆไม่มีกฎเกณฑ์ (Casual), เป็นธรรมชาติ (Natural), ทันสมัย (Modern) | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to find a way to design an appropriate graphic design to enable generation Y people to gain knowledge and understanding about homeopathy. A sample group used in this research was generation Y people, aged between 20 - 39 years old, who collected statistical data from the website, research papers, books, and academic articles and interviewed target groups to collect and analyze the data in the design. The results of this research found that the generation Y group has deteriorated health from hard work. The results of this research found that The Generation Y group has deteriorated health from hard work. Therefore, there has been a turn to health-conscious, but there is no time. In addition, the behavior of the generation Y group mainly uses smartphones and social media, loves to communicate, and expresses feeling through various social media. They like to use media for entertainment and read digital comics. They are interested and satisfied with digital comics. Thus, it was concluded that digital comics could transfer knowledge of homeopathy suitable for generation Y people because digital comics have a complex narrative structure able to convey stories in detail and be interesting. This research found mood and tone from three keywords: casual, natural, and modern, and obtained key messages used to convey, that the good life is change. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.301 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | - |
dc.title | การออกแบบเรขศิลป์เพื่อให้ความรู้โฮมีโอพาธีย์ | - |
dc.title.alternative | Graphic design for homeopathy | - |
dc.type | Independent Study | - |
dc.degree.name | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | นฤมิตศิลป์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2021.301 | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6380023835.pdf | 8.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.