Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80675
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกุลลินี มุทธากลิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-10-21T09:12:17Z-
dc.date.available2022-10-21T09:12:17Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80675-
dc.description.abstractการศึกษาเศรษฐศาสตร์ของไทยมีพัมนาการตามการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในประเทศตะวันตกโดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างผู้เชี่ยวชาญทางเศรษฐศาสตร์ พัฒนาการดังกล่าวดำเนินไปพร้อมๆ ไปกับการให้ความสำคัญกับเศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิกและการใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ สถิติ และเศรษฐมิติ อย่างไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตร์ อาจารย์ และนักศึกษาในประเทศฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร ได้เริ่มตั้งคำถามและวิพากษ์ต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์โดยเฉพาะความไม่สมจริงและการไม่สามารถประยุกต์ใช้ของทฤษฏีเศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิก ผ่านข้อเรียกร้องของกลุ่มต่างๆ จากการศึกษาความคิดเห็นของนิสิตของคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ พบว่า มีการตั้งคำถามต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ของไทยในประเด็นที่ใกล้เคียงกับกลุ่มต่างๆ ที่วิพากษ์การศึกษาเศรษฐศาสตร์ดังกล่าว การวิพากษ์ต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ย่อมส่งผลกระทบต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ไทยไปด้วยอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงen_US
dc.description.abstractalternativeEconomics education in Thailand has been influenced and shaped by Western countries particularly the United States. The most striking characteristic of the content of economic courses in Thailand is emphasis on neoclassical-Keynesian synthesis economic theory which confines to arcane mathematical models with the purpose of training personnel and specialists in economics. Recently, a growing number of top economists and economic students in France, the United States and the United Kingdom have examined how the neoclassical economics had begun to dominate economics at the expense of a separation from the economic reality that the world was facing. This study found that economic students at Chulalongkorn University also raised the same questions to economics education. For this reason, the content of economics as well as economics education in Thailand could and should be seriously reexamined and rethought.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)en_US
dc.titleการศึกษาเศรษฐศาสตร์ของไทยท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง : กรณีศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตร บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : รายงานวิจัยเรื่องen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Econ - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Gullinee M_Res_2560.pdfรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)8.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.