Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศา พรชัยวิเศษกุล-
dc.contributor.authorรวิสรา ขจรวีระธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2022-10-25T09:35:53Z-
dc.date.available2022-10-25T09:35:53Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80684-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563en_US
dc.description.abstractโครงงานพิเศษฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนซื้อรถบรรทุกหัวลาก เพื่อนำมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจรับขนส่งสินค้าของบริษัทกรณีศึกษาแห่งหนึ่ง โดยใช้เครื่องมือทางการเงินซึ่งประกอบไปด้วยระยะเวลาคืนทุนคิดลด (Discounted Payback Period) มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดสุทธิ (NPV) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (BC Ratio) อัตราส่วนผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) และการวิเคราะห์ความไว มาเป็นเกณฑ์ในการวัดความคุ้มค่าของโครงการว่าควรลงทุนซื้อรถบรรทุกหัวลากหรือไม่ ผลการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนซื้อรถบรรทุกหัวลากในธุรกิจรับขนส่งสินค้าของบริษัทกรณีศึกษา มีความเป็นไปได้ในการลงทุนซื้อรถเพียง 1 คัน โดยมีระยะเวลาคืนทุนคิดลดของโครงการเท่ากับ 4.81 ปี มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดสุทธิ มีค่าเท่ากับ 3,294,788.24 บาท อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน มีค่าเท่ากับ 6.27 เท่า และอัตราส่วนผลตอบแทนภายในโครงการ มีค่าเท่ากับร้อยละ 29.67 และเมื่อนำมาวิเคราะห์ความไว โดยมีการกำหนดให้ผลตอบแทนลดลงร้อยละ 5 และ 10 ต่อปี และต้นทุนในการดำเนินงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 และ 10 ต่อปี พบว่า โครงการดังกล่าวยังมีความเป็นไปได้และน่าสนใจลงทุน โดยระยะเวลาคืนทุนยังอยู่ภายใต้ช่วงเวลาที่กำหนด มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดมีค่ามากกว่า 0 และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนมีค่ามากกว่า 1 และอัตราส่วนผลตอบแทนภายในโครงการมีค่ามากกว่าเกณฑ์ที่บริษัทคาดหวังทุกกรณี ยกเว้นกรณีที่ผลตอบแทนของโครงการลดลงร้อยละ 10 ต่อปีที่อัตราส่วนผลตอบแทนภายในโครงการมีค่าน้อยกว่าเกณฑ์ที่คาดหวังที่ทำให้โครงการนี้ไม่คุ้มค่าที่จะลงทุนen_US
dc.description.abstractalternativeThis special project aims to study the feasibility of investing in the case study of transportation's company by using financial instruments, including discounted payback period, Net present value of cash flow (NPV), Benefit cost ratio (BC ratio), Internal rate of return (IRR), and sensitivity analysis. To be a criteria for measuring the cost-effectiveness of the project whether it worth the investment or not. The analysis of the feasibility of investment of this case study has shown that it is a possibility of investing in only 1 trailer. The discounted payback period of this project was almost 5 years, net present value of cash flow was 3,294,788.24 bath, benefit cost ratio was 6.27 and internal rate of return was 29.67%. The results of sensitivity analysis in all cases shown that the project is worth the investment due to discounted payback period is remain within the project lifetime and net present value of cash flow is not less than zero. Also, benefit cost ratio is greater than 1 time and internal rate of return is higher than the value that company's expected. Such this project is feasibility and worth the investment. However, in the case of the return project was reduced by 10%, the internal rate of return is less than expected, it is not worth the investment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.238-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectการศึกษาความเป็นไปได้en_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.subjectFeasibility studiesen_US
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนซื้อรถบรรทุกหัวลากen_US
dc.title.alternativeA feasibility study on the purchasing of trucksen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.238-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280056420_Rawitsara.pdf3.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.