Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80800
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พงษ์แพทย์ เพ่งวาณิชย์ | - |
dc.contributor.advisor | อาหลี ตำหมัน | - |
dc.contributor.author | ภัคจิรา คชเสนี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-11-02T09:44:14Z | - |
dc.date.available | 2022-11-02T09:44:14Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80800 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 | - |
dc.description.abstract | ในวิจัยนี้ได้ทำการจำลองการแผ่รังสีเอกซ์โดยใช้โมเดลจากเครื่องพลาสมาโฟกัส TPF – II ขนาด 1.5 kJ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบมอนติคาร์โล (Geant4) โดยทำการจำลองในช่วงที่เกิดอันตรกิริยาระหว่างลำอิเล็กตรอนกับขั้วแอโนดและทำการวิเคราะห์รังสีเอกซ์ที่เกิดขึ้น ทำการเปรียบเทียบรังสีเอกซ์เมื่อมีการเปลี่ยนลักษณะของขั้วแอโนดในส่วนของวัสดุและรูปร่างซึ่งได้แก่ 1. ขั้วแอโนดทรงกระบอกตันทำจากทองแดง 2. ขั้วแอโนดทรงกระบอกตันทำจากทังสเตน 3. ขั้วแอโนดทรงกระบอกเจาะรูทำจากทองแดง 4. ขั้วแอโนดทรงกระบอกเจาะรูทำจากทังสเตน โดยผลการจำลองพบว่าปริมาณรังสีเอกซ์จะมีค่าสูงสุดมุม 60-70 องศา เมื่อพลังงานของลำอิเล็กตรอนประมาณ 200 keV และที่มุม 10 องศา เมื่อพลังงานของลำอิเล็กตรอนตั้งแต่ 300 keV ขึ้น โดยวัสดุของขั้วแอโนดที่ให้ค่าปริมาณรังสีเอกซ์สูงสุด ได้แก่ ทังสเตน | - |
dc.description.abstractalternative | An x-ray emission from a 1.5 kJ Mather type plasma focus model was simulated using the Geant4 simulation toolkit which was based on the Monte Carlo method. The simulation traced the interaction between the electron beam formed during the focus and the anode in order to analyze the profile and characteristics of the x-ray that was generated from the interaction. Various anode materials and shapes were tested. The simulation showed that the highest x-ray dose was found between 60 – 70 degree angles at electron beam energy of 200 - 250 keV and 10 degree angle at electron beam energy more than 300 keV. The Highest X-ray yield was found when using a solid cylindrical tungsten anode. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.466 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.classification | Physics and Astronomy | - |
dc.subject.classification | Engineering | - |
dc.subject.classification | Physics and Astronomy | - |
dc.title | การจำลองมอนติคาร์โลของการเกิดรังสีเอกซ์ในเครื่องพลาสมาโฟกัส | - |
dc.title.alternative | Monte carlo simulation of x-ray generation in plasma focus machine | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีนิวเคลียร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2021.466 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6170237721.pdf | 7.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.