Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81466
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Puntita Tanwattana | - |
dc.contributor.advisor | Clemens Grünbühel | - |
dc.contributor.author | Sofia Anna Enrica Cavalleri | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-03T03:53:50Z | - |
dc.date.available | 2023-02-03T03:53:50Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81466 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2021 | - |
dc.description.abstract | Current food systems fail to directly link rural producers and urban consumers. This research explores and categorizes emerging community-based agritourism practices as strategies to reconnect rural food producers with urban consumers. The main research question of this study is: how can community-based agritourism link rural food producers and urban consumers as a rural livelihood diversification strategy? Mixed methods for data collection were selected to answer this question and analyzed with a deductive and inductive approach. These include the review of secondary grey and academic literature, shadow observation in three rural provinces, content validity index calculation performed by experts (n = 17), semi-structured multistakeholder interviews (n = 40), in-depth interviews with rural community leaders (n = 10) and a survey questionnaire distributed to a sample of urban consumers living in Bangkok (n = 400). Research outputs include: (1) an integrated framework of indicators to categorize rural livelihood diversification practices, built on the four environmental, sociocultural, economic, and health dimensions; (2) a list of rural diversification practices emerging in Bangkok cityregion, with culinary tourism being a prominent one; (3) the statistical validation of the association between urban-rural relation and sustainable consumption, confirming that strong consumer-producer links lead to sustainable consumption and sustainable local food systems and (4) recommendations targeting community-based agritourism experiences to specific consumer niches. In this way, products and services can effectively leverage on context-specific environmental, sociocultural, economic and health assets of local rural communities. | - |
dc.description.abstractalternative | ระบบอาหารในปัจจุบันประสบความล้มเหลวในการเชื่อมโยงผู้ผลิตในชนบทกับผู้บริโภคในเมืองเข้าด้วยกันโดยตรง งานวิจัยฉบับนี้จึงศึกษาและจำแนกการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนเป็นฐานซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่เพิ่งเกิดขึ้นในฐานะกลยุทธ์ที่จะเชื่อมผู้ผลิตในชนบท กับผู้บริโภคในเมืองเข้าด้วยกัน คำถามหลักของงานวิจัยชิ้นนี้คือ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนเป็นฐานจะเชื่อมผู้ผลิตในชนบทเข้ากับผู้บริโภคในเมือง และเป็นกลยุทธ์สร้างความหลากหลายของการทำมาหากินในท้องถิ่นได้อย่างไร โดยผู้วิจัยได้เลือกใช้วิธีวิจัย แบบผสมผสานในการเก็บข้อมูลเพื่อตอบคำถามวิจัยนี้ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยกระบวนการทั้งอุปนัยและนิรนัย วิธีการเก็บข้อมูลที่ใช้ได้แก่การทบทวนวรรณกรรมทั้งที่ได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้รับการตีพิมพ์ การเฝ้าสังเกตอย่างใกล้ชิดในพื้นที่ชนบทของสามจังหวัดการคำนวณดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยคณะผู้เชี่ยวชาญ (n=17) การสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้างกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (n=40) การสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้น าชุมชนในพื้นที่ชนบท (n=10) และการใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างของผู้บริโภคในเมืองที่อาศัยในกรุงเทพมหานคร (n=400) ผลผลิตที่ได้จากการวิจัยนี้ได้แก่ (1) กรอบแนวคิดแบบบูรณาการที่ใช้ตัวชี้วัดเพื่อจำแนกแนวปฏิบัติในการสร้างความหลากหลายของการทำมาหากินในท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วยมิติด้านสิ่งแวดล้อม สังคม-วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสุขภาพ (2) แนวปฏิบัติในการสร้างความหลากหลายของการท ามาหากินในท้องถิ่นซึ่งเกิดขึ้นในบริเวณภูมิภาคโดยรอบที่มีความสัมพันธ์กับกรุงเทพมหานคร ซึ่งรวมถึงการท่องเที่ยวเชิงอาหารที่โดดเด่นกว่าแนวปฏิบัติอื่นๆ (3) การตรวจสอบความถูกต้องเชิงสถิติของความเกี่ยวเนื่องกันระหว่างเมือง-ชนบทและการบริโภคที่ยั่งยืน ผลการศึกษานี้ได้ยืนยันว่าการเชื่อมต่ออย่างแน่นแฟ้นระหว่างผู้บริโภคและผู้ผลิตทำให้เกิดการบริโภคอย่างยั่งยืนและระบบอาหารท้องถิ่นที่ยั่งยืน และ (4) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประสบการณ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนเป็นฐานสำหรับตอบสนองผู้บริโภคเฉพาะกลุ่ม ซึ่งจะทำให้ผลิตภัณฑ์และบริการสามารถพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ได้โดยตั้งอยู่บนบริบทเฉพาะของต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม สังคม-วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสุขภาพของชุมชนท้องถิ่นนั้น ๆ | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.162 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject.classification | Environmental Science | - |
dc.subject.classification | Environmental Science | - |
dc.subject.classification | Environmental Science | - |
dc.subject.classification | Agricultural and Biological Sciences | - |
dc.subject.classification | Environmental Science | - |
dc.subject.classification | Social Sciences | - |
dc.subject.classification | Social Sciences | - |
dc.subject.classification | Economics | - |
dc.title | Developing a system of community-based agritourism for sustainable local food systems: a multi-case study of rural livelihood diversification and sustainable urban consumption in city-regional Bangkok | - |
dc.title.alternative | การพัฒนาระบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนเป็นฐานเพื่อความยั่งยืนของระบบอาหารในท้องถิ่น: พหุกรณีศึกษาความหลากหลายของการทำมาหากินในท้องถิ่นและความยั่งยืนของการบริโภคของเมืองในกรุงเทพมหานครและจังหวัดโดยรอบ | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | - |
dc.degree.level | Doctoral Degree | - |
dc.degree.discipline | Environment, Development and Sustainability | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2021.162 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6288329220.pdf | 6.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.