Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8194
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจริยา บุญหงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-09-30T09:50:20Z-
dc.date.available2008-09-30T09:50:20Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8194-
dc.descriptionโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนen
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการสอนแบบบรรยายกับการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ว่าแบบใดจะสามรถทำให้นิสิตเกิดการเรียนรู้และมีความพึงพอใจต่อการสอนมากกว่ากัน วิธีการในชั่วโมงเรียนของไฟฟ้าวินิจฉัย แบ่งนิสิตแพทย์ออกเป็น 2 กลุ่ม โดยสอนสลับกันไปแต่ละกลุ่มย่อยจนครบกลุ่มละ 30 คน กลุ่มที่ 1 ได้รับการสอนโดยวิธีบรรยาย ส่วนกลุ่มที่ 2 ได้รับการสอนโดยใช้กรณีศึกษาแล้วให้นิสิตอภิปรายกัน ในกลุ่มเกี่ยวกับอาการผู้ป่วย การวินิจฉัยโรค การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการรวมถึงการส่งตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย โดยมีผู้สอนเป็นผู้คอยให้คำแนะนำพร้อมสรุปในตอนท้าย วิธีการวัดผล หลังจากจบการสอนทั้ง 2 แบบ นิสิตจะได้รับการทดสอบความรู้ด้วยแบบทดสอบชนิดปรนัยจำนวน 10 ข้อ และให้นิสิตประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับการเรียนการสอน โดยให้คะแนนเต็ม 10 คะแนน ผลของการวิจัย การสอนทั้ง 2 แบบมีนิสิตกลุ่มละ 30 คน กลุ่มที่ได้รับการสอนแบบบรรยาย มีคะแนนทดสอบเฉลี่ย 8.17 (DS = 0.84) และคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ย 8.57 (SD= 0.97) กลุ่มที่ได้รับการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น มีคะแนนทดสอบเฉลี่ย 8.47 (SD = 1.01) และคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ย 8.98 (SD = 0.93) โดยคะแนนทั้ง 2 กลุ่ม ทั้งคะแนนทดสอบและคะแนนความ พึงพอใจ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) สรุป ผลการศึกษาพบว่า ไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบบรรยายกับกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น ทั้งความรู้ที่นิสิตได้รับและความพึงพอใจต่อวิธีการสอนen
dc.description.abstractalternativeObjective: To compare the knowledge gain and satisfaction of learning between the lecture based and problem based learning program. Design Experimental study. Setting: Department of Rehabilitation Medicine, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University. Subject and Methods: Sixty medical students that attended the electrodiagnostic subject at department of rehabilitation medicine. The students are randomized sampling into two groups, one received the lecture based program and the other received the problem based program. Measurement: The two groups of the students are tested by en topics multiple choices examination. Ten points score of satisfaction of learning is evaluated by the students. Result: There are thirty students in each group. The average testing and satisfaction scores of lecture based group are 8.17 +- 0.84 and 8.57 +- 0,97. The scores of the problem based group are 8.47 +- 1.01 and 8.98 +- 0.93. There are no significant differences of scores in both groups. Conclusion: There are no differences of knowledge gain and satisfaction of learning between the lecture based and problem based learning program.en
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภชen
dc.format.extent1008119 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐานen
dc.subjectการสอนen
dc.titleการเปรียบเทียบการเรียนการสอนแบบบรรยายกับการใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นการเรียนรู้ : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeComparison of the effectiveness of lecture and problem based learning programen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorJariya.Bo@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jariya_bo.pdf984.49 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.