Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8204
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์-
dc.contributor.authorวราภรณ์ นิธีจันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-10-02-
dc.date.available2008-10-02-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746362798-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8204-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับตัวและเปรียบเทียบปัญหาการปรับตัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ตามตัวแปรเพศและระดับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 650 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามปัญหาการปรับตัวของมูนนีย์แบบเจ (Mooney Problem Checklist Junior High School Form : J) ได้รับแบบสอบถามคืนมา 650 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และทดสอบเป็นรายคู่โดยวิธีของเชฟเฟ (Scheffe') ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั้งชายและหญิง มีปัญหาการปรับตัวโดยเรียงลำดับจำนวนผู้มีปัญหาการปรับตัวมากไปหาน้อยดังนี้ คือด้านโรงเรียน ด้านการเงิน การงาน และอนาคต ด้านความกังวลเกี่ยวกับตนเอง ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนทั้งชายและหญิง ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่นโดยทั่วไป ด้านสุขภาพและพัฒนาการทางด้านร่างกาย และด้านบ้านและครอบครัว 2. นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีปัญหาการปรับตัวโดยเรียงลำดับจำนวนผู้มีปัญหาการปรับตัวมากไปหาน้อยดังนี้ คือด้านโรงเรียน ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนทั้งชายและหญิง ด้านความกังวลเกี่ยวกับตนเอง ด้านการเงิน การงาน และอนาคต ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่นโดยทั่วไป ด้านสุขภาพและพัฒนาการทางด้านร่างกาย และด้านบ้านและครอบครัว 3. นักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีปัญหาการปรับโดยเรียงลำดับจำนวนผู้มีปัญหาการปรับตัวมากไปหาน้อยดังนี้ คือด้านโรงเรียน ด้านการเงิน การเงิน และอนาคต ด้านความกังวลเกี่ยวกับตนเอง ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนทั้งชายและหญิง ด้านสุขภาพและพัฒนาการทางด้านร่างกาย ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่นโดยทั่วไป และด้านบ้านและครอบครัว 4. นักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีปัญหาการปรับตัวแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านสุขภาพและพัฒนาการทางด้านร่างกาย ด้านบ้านและครอบครัว และด้านการเงิน การงาน และอนาคต 5.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยุ่ในระดับสูง มีปัญหาการปรับตัวโดยเรียงลำดับจำนวนผู้มีปัญหาการปรับตัวมากไปหาน้อยดังนี้ คือด้านความกังวลเกี่ยวกับตนเอง ด้านโรงเรียน ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนทั้งชายและหญิง ด้านการเงิน การงาน และอนาคต ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่นโดยทั่วไป ด้านสุขภาพและพัฒนาการทางด้านร่างกาย และด้านบ้านและครอบครัว 6. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งในระดับปานกลาง มีปัญหาการปรับตัวโดยเรียงลำดับจำนวนผู้มีปัญหาการปรับตัวมากไปหาน้อยดังนี้ คือ ด้านโรงเรียน ด้านการเงิน การงานและอนาคต ด้านความกังวลเกี่ยวกับตนเอง ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนทั้งชายและหญิง ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่นโดยทั่วไป ด้านสุขภาพและพัฒนาการทางด้านร่างกาย และด้านบ้านและครอบครัว 7. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งในระดับต่ำ มีปัญหาการปรับตัวโดยเรียงลำดับจำนวนผู้มีปัญหาการปรับตัวมากไปหาน้อยดังนี้ คือ ด้านโรงเรียน ด้านการเงิน การงาน และอนาคต ด้านความกังวลเกี่ยวกับตนเอง ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนทั้งชายและหญิง ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่นโดยทั่วไป ด้านสุขภาพและพัฒนาการทางด้านร่างกาย และด้านบ้านและครอบครัว 8. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับสูง ปานกลางและต่ำ มีปัญหาการปรับตัวไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นในด้านโรงเรียนen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study and to compare the adjustment problems of Mathayom Suksa three students in schools under the Jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolis, on the variables of gender and academic achievement. The subjects comprised of 650 students. The Mooney Problem Checklist Junior High School Form : J was used to measure the adjustment problems. All questionnaires were analyzed in terms of percentages, means, standard deviations. A t-test, F-test and Scheffe' method were also applied. Results of the study were as follows : 1. Both male and female Mathayom Suksa three students had problems of adjustment. The problems of adjustment ranked from the highest to the lowest in the areas of school, money, work and the future, self-centered concerns, boy and girl relationships, relations with people in general, health and physical development and home and family. 2. The male Mathayom Suksa three students had the same problems of adjustment as above and ranked from highest to the lowest as follows: school, boy and girl relationships, self-centered concerns, money, work and the future, relations with people in general health and physical development and home and family. 3. The female Mathayom Suksa three students had the same problems of adjustment as above and ranked from the highest to the lowest as follows: school, money, work and the future, self-centered concerns, boy and girl relationships, health and physical development, relations with people in general, and home and family. 4. Male and female Mathayom Suksa three students had significant differences in the general adjustment problems at the .05 level in the following problem areas: health and hysical development, home and family and money, work and the future. 5. The high academic achievement students in Mathayom Suksa three had problems of adjustment ranked from the highest to the lowest as follows: self-centered concerns, school, boy and girl relationships, money, work and the future, relations with people in general, health and physical development, and home and family. 6. Teh medium academic achievement students in Mathayom Suksa three had the problems of adjustment ranked from the highest to the lowest as follows: school, money, work and the future, self-centered concerns, boy and girl relationships, relations with people in general, health and physical development, and home and family. 7. The low academic achievement students in Mathayom Suksa three had the problems of adjustment, ranked from the highest to the lowest as follows: school, money, work and the future, self-centered concerns, boy and girl relationships, relations with people in general, health and physical development, and home and family. 8. The high, medium, and low academic achievement students in Mathayom Suksa three had no significant differences in the general adjustment problem at the .05 level except in the adjustment problem of school.en
dc.format.extent1138824 bytes-
dc.format.extent2179019 bytes-
dc.format.extent975881 bytes-
dc.format.extent6492375 bytes-
dc.format.extent2981664 bytes-
dc.format.extent1561997 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา)en
dc.subjectวัยรุ่น -- สุขภาพจิตen
dc.titleการศึกษาปัญหาการปรับตัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA study of adjustment problems of Mathayom Suksa Three students in schools under the Jurisdiction of the Department of General Education, Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAimutcha.W@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Waraporn_Ni_front.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_Ni_ch1.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_Ni_ch2.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_Ni_ch3.pdf953.01 kBAdobe PDFView/Open
Waraporn_Ni_ch4.pdf6.34 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_Ni_ch5.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_Ni_back.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.