Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบวรนรรฏ อัญญะโพธิ์-
dc.contributor.authorอนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-05-31T08:54:23Z-
dc.date.available2023-05-31T08:54:23Z-
dc.date.issued2565-01-
dc.identifier.citationวารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 14,1 (ม.ค. - มิ.ย. 2565) หน้า 183-202en_US
dc.identifier.issn2730-2245-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82155-
dc.description.abstractบทความฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย เรื่อง พระอินทร์ในนาฏกรรมไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทการแสดงตัวละครพระอินทร์ในนาฏกรรมไทย โดยมุ่งเน้นการศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการกำหนดบทบาทของพระอินทร์ในนาฏกรรมไทย วิธีดำเนินการวิจัยใช้การศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ตำรา วิทยานิพนธ์ บทความ เอกสารสำคัญทางวรรณคดี และบทประกอบการแสดงนาฏกรรมของกรมศิลปากร การชมการแสดง การสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า บทบาทพระอินทร์ปรากฏอยู่มากในนาฏกรรมไทยที่สำคัญ คือ โขนและละคร ในนาฏกรรมโขนพระอินทร์ปรากฏบทบาทในฐานะเทพชั้นรองที่รับคำสั่งจากพระอิศวรให้ไปปฏิบัติภารกิจ บทบาทในฐานะผู้ให้ความช่วยเหลือประทานสิ่งของให้ตัวละคร และบทบาทในฐานะประธานการทำพิธีต่างๆ ของตัวละคร ส่วนบทบาทพระอินทร์ในนาฏกรรมละครที่เด่นชัดที่สุดคือบทบาทความเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือตัวละครที่กำลังตกทุกข์ได้ยาก สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อการกำหนดบทบาทของพระอินทร์ในนาฏกรรมไทย มี 2 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัจจัยทางด้านศาสนา 2) ปัจจัยทางด้านวรรณคดี ความสำคัญของพระอินทร์ในศาสตร์ด้านนาฏกรรมอันเป็นความเชื่อมาจากตำรานาฏยศาสตร์คือการโบกธงเพื่อปัดเสนียดจัญไรของการแสดงละครชาตรี และยังมีการใช้ศีรษะโขนหน้าพระอินทร์มาร่วมในพิธีไหว้ครูโขนละครของบางสำนัก ชุดการแสดงที่สำคัญและได้รับความนิยมสำหรับตัวละครพระอินทร์คือการแสดงโขน ตอนศึกพรหมมาศ การแสดงละครเรื่องสังข์ทอง ตอนตีคลี และการแสดงละครเรื่องสังข์ศิลป์ชัย ตอนตกเหวen_US
dc.description.abstractalternativeThis article be the part of Thesis in Doctor of Philosophy program in Thai Theater Dance for the title Indra God in Thai Drama, had objective to study the role play performance of Indra God in Thai Drama by aim to study of factors effecting to role assignment of Indra God in Thai Drama. Research methodology be studying from books, textbooks, thesis, articles, important literatures and Thai Drama scripts of Fine Arts Department, real watched participating and interviewing. The finding found that the role plays of Indra God be obvious occurring in Thai Drama as the important appearance in Khon and Drama, in Khon Indra God appeared in the role play as secondary Deities God who got the command from Isuan God to perform the missions, the role play of giver in helping and supporting the things to performers and the role play as the President of any ceremonies of performers by the highlight role play of Indra God in Thai Drama would be the great supporter to all sufferers’ performers. For the factors which impact to the specific role play of Indra God in Thai Drama, there were 2 factors as 1) Factor in religion 2) Factor in Literatures. The significant of Indra God in Thai Drama of the belief science be the waving flag for toward off mischief in Chatree drama performance and still taking Indra God of Khon Head to join in Wai Khru Khon and Drama ceremony of some Khon School by the significant and popularity performance of Indra God performer be Khon performance in episode of Prommas War, Sungthong Drama in episode of Tee-Klee and Sungsilapachai Drama in episode of Tok-Hell.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherวารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นen_US
dc.relation.urihttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/248150-
dc.rightsวารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นen_US
dc.subjectโขนen_US
dc.subjectละคร -- ไทยen_US
dc.subjectดนตรีประกอบการแสดงen_US
dc.titleพระอินทร์ในนาฏกรรมไทยen_US
dc.title.alternativeIndra in Thai Dramaen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_85136.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.78 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.