Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82187
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วีระศักดิ์ เครือเทพ | - |
dc.contributor.author | ศดานนท์ วัตตธรรม | - |
dc.contributor.author | วศิน โกมุท | - |
dc.contributor.author | ไกรวุฒิ ใจคําปัน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-29T02:39:55Z | - |
dc.date.available | 2023-06-29T02:39:55Z | - |
dc.date.issued | 2565-01 | - |
dc.identifier.citation | วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ 9,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2565) หน้า 143-161 | en_US |
dc.identifier.issn | 2586-9744 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82187 | - |
dc.description.abstract | บทความนี้นําเสนอแนวคิดการสะกิด(Nudge) โดยสติกเกอร์ป้ายเพื่อเพิ่มผลสําเร็จของการจัดเก็บภาษีป้าย และนําไปทดลองใช้ในพื้นที่ อปท. จํานวน 4 แห่งในช่วงฤดูกาลจัดเก็บภาษีป้ายปี พ.ศ. 2563 ซึ่งได้เปรียบเทียบผลการทดลองกับกลุ่มควบคุมจํานวน 1 แห่ง และใช้วิธีประเมินผลเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้สติกเกอร์ป้าย การทดลองสติกเกอร์ป้ายครั้งนี้พบว่าได้ผลสําเร็จเป็นอย่างดี อปท. สามารถบริหารจัดเก็บภาษีป้ายภายในกําหนดเวลาในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น และเมื่อมีการแจ้งเตือนภาษีป้ายควบคู่ไปกับการใช้สติกเกอร์ป้ายก็พบว่า อปท. สามารถจัดเก็บภาษีป้ายได้ครบถ้วนในสัดส่วนที่สูงขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ มาตรการดังกล่าวจึงสามารถนําไปขยายผลใน อปท. แห่งอื่น และสะท้อนถึงความสําคัญของการศึกษาวิจัยด้านพฤติกรรมศาสตร์สําหรับการบริหารงานคลังท้องถิ่นไทยต่อไปในอนาคต | en_US |
dc.description.abstractalternative | This article explores the use and success in applying nudge approach to the collection of signboard tax in 2020. Four local administrative organizations are studied as an experimental group with one local administrative organization as a control group.Before-and-after comparison in tax collection outcomes is a major analytical technique in this study. Findings show that signboard stickers help to increase the effectiveness of signboard taxes significantly for all four local administrative organizations in the experimental group, comparing to the tax collection outcomes in the control group. This research sheds the light on the significance of behavioral studies for local tax administrationin particular and for Thai public administration in general. Therefore, the measure shall be promoted in a wider scale. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา | en_US |
dc.relation.uri | https://kuojs.lib.ku.ac.th/index.php/jems/article/view/4208 | - |
dc.rights | คณะเศรษฐศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา | en_US |
dc.subject | ภาษีการค้า | en_US |
dc.subject | ภาษี | en_US |
dc.subject | ป้ายโฆษณา -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.title | สติกเกอร์ป้าย: มาตรการสะกิดการชำระภาษีป้ายด้วยแนวทางเชิงพฤติกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.title.alternative | Nudge in Signboard Tax Collection: An Experimental Behavioral Approach | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Thai Journal Article |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
html_submission_85056.html.html | บทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext) | 2.83 kB | HTML | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.