Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82926
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัญญพร บุญมหิทธิสุทธิ์-
dc.contributor.advisorพศวรรธน์ ชัยวุฒินันท์-
dc.contributor.authorทีปกร พันธ์พรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-08-04T07:09:22Z-
dc.date.available2023-08-04T07:09:22Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82926-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงสมบัติของพอลิโพรพิลีนรีไซเคิลโดยการเตรียมเป็นเทอร์มอพลาสติกอิลาสโตเมอร์ และเทอร์มอพลาสติกวัลคาไนเซตด้วยยางธรรมชาติและยางอีพีดีเอ็มในอัตราส่วนต่าง ๆ โดยพอลิโพรพิลีนรีไซเคิลและยางถูกผสมด้วยสามอัตราส่วน ได้แก่ 90/10, 80/20 และ 70/30 โดยน้ำหนักในเครื่องผสมแบบปิดที่อุณหภูมิ 170 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 นาที ตามด้วยการอัดขึ้นรูป จากผลการทดลองพบว่าการเติมยางธรรมชาติหรือยางอีพีดีเอ็มช่วยปรับปรุงความทนแรงกระแทกและการยืดตัว ณ จุดขาด ขณะที่ความทนแรงดึง ยังส์มอดุลัส และความแข็งลดลง อย่างไรก็ตามเทอร์มอพลาสติกอิลาสโตเมอร์ที่เติมยางอีพีดีเอ็มแสดงสมบัติเหนือกว่าเทอร์มอพลาสติกอิลาสโตเมอร์ที่เติมยางธรรมชาติที่อัตราส่วนเดียวกันเนื่องจากมีความเข้ากันได้กับพอลิโพรพิลีนรีไซเคิลมากกว่า ซึ่งยืนยันได้จากสมบัติสัณฐานวิทยา และในบรรดาเทอร์มอพลาสติกอิลาสโตเมอร์ทั้งหมด พอลิโพรพิลีนรีไซเคิล/ยางที่อัตราส่วน 80/20 มีสมบัติเชิงกลที่เหมาะสมจึงถูกเลือกมาเตรียมเป็นเทอร์มอพลาสติกวัลคาไนเซตโดยการเติมเพอร์ออกไซด์เป็นสารเชื่อมขวางที่อัตราส่วน 1 และ 2 ส่วนต่อยางร้อยส่วน เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสมบัติเชิงกล สมบัติทางความร้อน และสัณฐานวิทยาของเทอร์มอพลาสติกอิลาสโตเมอร์และเทอร์มอพลาสติกวัลคาไนเซตพบว่ายังส์มอดุลัสของเทอร์มอพลาสติกวัลคาไนเซตสูงกว่าเทอร์มอพลาสติกอิลาสโตเมอร์เนื่องจากการเชื่อมขวาง อย่างไรก็ตามสมบัติอื่น ๆ ลดลงเมื่อเทียบกับเทอร์มอพลาสติกอิลาสโตเมอร์เพราะการตัดขาดของสายโซ่โดยเพอร์ออกไซด์-
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to improve the properties of recycled PP by preparing thermoplastic elastomers (TPEs) and thermoplastic vulcanizate (TPVs) with natural rubber (STR5L) and EPDM at different ratios. The recycled PP/rubber blends with three ratios, including 90/10, 80/20, and 70/30 (w/w), were mixed in an internal mixer at 170 ºC for 10 mins, followed by compression molding. the results showed that the addition of either STR5L or EPDM rubber to the blends enhanced impact strength and elongation at break, but at the expense of the tensile strength, Young's modulus, and hardness. However, the TPEs by including EPDM exhibited superior properties than those including STR5L at the same ratio owing to the higher compatibility with recycled PP confirmed by morphological property. Among the TPEs, the recycled PP/rubber at 80/20 exhibited the appropriated mechanical properties. therefore, these ratio were chosen prepared TPVs by adding 1 and 2 phr of DCP as a crosslinking agent to examine and compare the mechanical, thermal, and morphological properties of the TPEs and TPVs. It was found that Young's modulus of the TPVs has higher than that of TPEs because of the crosslinking. However, other properties of the TPVs deteriorated as compared with the TPEs due to the chain scission by DCP.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.686-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบของพอลิโพรพิลีนรีไซเคิลเทอร์มอพลาสติกวัลคาไนเซตจากยางธรรมชาติและจากยางอีพีดีเอ็ม-
dc.title.alternativeComparative study of recycled polypropylene thermoplastic vulcanizates from natural rubber and from EPDM rubber-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2022.686-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6270044023.pdf4.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.