Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82976
Title: | Analysis of fatty acid methyl esters by two-dimensional gas chromatography using cryogen-free modulator |
Other Titles: | การวิเคราะห์เมทิลเอสเทอร์ของกรดไขมันด้วยแก๊สโครมาโทกราฟี สองมิติที่ใช้โมดูเลเตอร์แบบไม่ใช้สารหล่อเย็น |
Authors: | Adrian Jose Sacan |
Advisors: | Chadin Kulsing |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Sciences |
Issue Date: | 2022 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | A simple and environmentally friendly method in two-dimensional gas chromatography coupled with mass spectrometry (GC-MS) and flame ionization detector has been developed for the analysis of fatty acids in commercial milk products. This applies splitter-based non-cryogenic artificial trapping (SNAT) modulator with unique feature imitating the cryogenic modulation process. The method involves chemical derivatization into fatty acid methyl esters (FAME) with methanolic potassium hydroxide, liquid-liquid phase extraction using hexane, and determination of the FAME composition. The GC×GC approach revealed improved separation of FAME using SNAT modulator with better separated peaks, a ten-fold higher total peak capacity and improved compound identification, compared to 1D GC-MS system. SNAT modulator also showed several areas of FAMEs mapped by longitudinally modulated cryogenic system trapped at 10 0C whereas the gas chromatography-flame ionization detector (GC-FID) using a cryogenic modulator revealed the absence of separated peaks that were previously seen in the other two GC systems. The method precisions have also been investigated with a known set of standard compounds with relative standard deviation percentages of <10%. The developed approach is considered economical without cryogen consumption. |
Other Abstract: | แก๊สโครมาโตกราฟีแบบสองมิติอย่างทั่วถึงเป็นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพสูง มีความคุ้มค่าและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยทำงานร่วมกับเครื่องตรวจวัดแมสสเปกโทรมิเตอร์ และเฟลมไอออนไซเซชันดีเทคเตอร์ โดยในงานนี้ต้องการศึกษากรดไขมันในตัวอย่างนม ดังนั้นจึงได้พัฒนาเทคนิค SNAT ที่ทำการดักจับสารแบบเทียมโดยไม่ต้องใช้น้ำแข็ง ซึ่งใช้คอลัมน์สำหรับการแยกสารทั้งแบบกึ่งไม่มีขั้ว และแบบมีขั้ว ท่อสำหรับปรับสมดุลของการไหลในระบบและดีนสวิตช์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์สำหรับควบคุมการจับและส่งสารจากระบบโดยใช้การส่งผ่านสารแบบฮาร์ตคัตอย่างทั่วถึง โดยอุปกรณ์ที่จำเป็นจะเป็นตัวแยกแบบหลายตัวระหว่างทางออกของคอลัมน์แรกและดีนสวิตช์ ซึ่งใช้ในกระบวนการดักจับแบบเทียม ซึ่งประกอบด้วยการแยกพีคของสารอย่างเป็นระบบ การหน่วงเวลาหลังแยก การซ้อนทับกันของพีก และการฮาร์ตคัตเลือกกลุ่มสาร โดยเวลาที่ใช้ในการดักจับสารตัวอย่างและระยะเวลาในการแยกในคอลัมน์ที่สอง สามารถปรับได้ด้วยจำนวนตัวแยกที่แตกต่างกัน ซึ่งจะช่วยให้สามารถดักจับสารประกอบที่ระเหยง่ายและยากได้ภายในการฉีดครั้งเดียวโดยไม่ต้องใช้ระบบน้ำแข็งในการดักจับสาร และยังช่วยเพิ่มขีดความสามารถสูงสุดในการแยกพีคของสารในระบบแก๊สโครมาโตกราฟีแบบสองมิติ ซึ่งไม่สามารถทำได้ด้วยเทคโนโลยีทั่วไป สิ่งนี้จะถูกนำไปใช้เพื่อระบุสารประกอบในตัวอย่างนม และมีการเปรียบเทียบผลของเทคนิค SNAT และวิธีที่ต้องใช้น้ำแข็งเทียมด้วย อีกทั้งยังได้ศึกษาผลของการวิเคราะห์ซ้ำในสารละลายแบบผสม ได้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์น้อยกว่า 10 |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2022 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Green Chemistry and Sustainability |
URI: | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82976 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.182 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2022.182 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6478043023.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.