Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร-
dc.contributor.authorจิรนาถ จนาศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2006-05-27T05:01:49Z-
dc.date.available2006-05-27T05:01:49Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740314686-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับอัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นตอนกลาง ซึ่งมีอายุระหว่าง 15-18 ปี กลุ่มตัวอย่างมีจำนวนทั้งสิ้น 360 คน จำแนกเป็นวัยรุ่นชายจำนวน 180 คน วัยรุ่นหญิงจำนวน 180 คน ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4, 5 และ 6 โรงเรียนสหศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร จากโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี โรงเรียนสตรีวิทยา 2 และโรงเรียนราชวินิต บางเขน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามเกี่ยวกับรูปลักษณ์ทางกาย แบบสอบถามเกี่ยวกับการยอมรับของกลุ่มเพื่อน แบบสอบถามวัดอัตมโนทัศน์ และแบบสำรวจการอบรมเลี้ยงดูซึ่งพัฒนารูปแบบการวิจัยเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูของ Baumrind นำข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยการใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ด้วยวิธีการเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นๆ (Stepwise) เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวแปรเข้าวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า มีตัวแปรจำนวน 3 ตัวแปร จาก 6 ตัวแปร ที่สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของปัจจัยเกี่ยวกับอัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นตอนกลางได้ร้อยละ 36.4 ซึ่งตัวแปร 3 ตัวดังกล่าวถือเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นตอนกลาง ซึ่งได้แก่ปัจจัยดังต่อไปนี้ คือ 1) การยอมรับของกลุ่มเพื่อน 2) รูปลักษณ์ทางกาย 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (เรียงลำดับความสำคัญจากค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยพหุคูณ)en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the selected factors related to self concept of middle adolescents in Bangkok. The sample of this research were 360 Matayomsuksa 4, 5 and 6, aged 15-18 from Surasakmontri School, Satreewittaya 2 School and Rajwinit Bangkean School. The research instruments were Personal Data Questionnaire, Physical Appearance Questionnair, Peer Acceptance Questionnaire, Piers-Harris Children's Self-concept Scale and Parenting Style Questionnaires which were developed from Baumrind's research. The data were analyzed by the Multiple Regression analysis with stepwise methods. The data were analyzed by Multiple Regression analysis technique and show that 3 from the total 6 variables accounted for 36.4 percent. The 3 variables that related to self concept of middle adloescents are peer acceptance, physical appearance and academic achievement.en
dc.format.extent31889547 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการรับรู้ตนเองในวัยรุ่นen
dc.subjectวัยรุ่น--ไทยen
dc.titleปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับอัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นตอนกลางen
dc.title.alternativeSelected factors related to self of middle adolescentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorpsy@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jiranat.pdf9.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.