Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83202
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ-
dc.contributor.advisorอรัญญา ศรียัพ-
dc.contributor.authorยุวลักษณ์ จุลปาน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2023-08-04T07:48:33Z-
dc.date.available2023-08-04T07:48:33Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83202-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการนำเอากระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์มาประยุกต์ใช้ในการประเมินเพื่อเลือกวิธีการที่ช่วยในการลาดตระเวนตรวจการณ์ทางทะเลของกองทัพเรือ ใน 4 วิธีการ คือ เทคโนโลยีดาวเทียม เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับ เซ็นเซอร์ใต้น้ำ และสถานีเรดาร์           การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจข้อมูลด้วยแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่มีส่วนเกี่ยวข้องในวิธีการทั้ง 4 วิธีการ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดหายุทโธปกรณ์ของกองทัพเรือ โดยการให้คะแนนความสำคัญของแต่ละปัจจัย เพื่อใช้ในการวิเคราะห์เพื่อหาระดับความสำคัญของแต่ละปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกวิธีการที่ช่วยในการลาดตระเวนตรวจการณ์ทางทะเลของกองทัพเรือ โดยการวินิจฉัยเปรียบเทียบความสำคัญของปัจจัยทีละคู่ และการให้คะแนนความสำคัญระหว่างวิธีการที่มีผลต่อแต่ละของผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง           ผลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้พบว่า ผู้ตัดสินใจให้ความสำคัญกับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกวิธีการที่ช่วยในการลาดตระเวนตรวจการณ์ทางทะเลของกองทัพเรือ ใน 5 ลำดับแรก ตามลำดับ คือ ความปลอดภัยต่อผู้ใช้งาน ความเสี่ยงต่อการถูกโจมตี ความสะดวกในการใช้งาน ความน่าเชื่อถือของการใช้งาน และความเที่ยงตรงของข้อมูล สำหรับวิธีการที่เหมาะสมที่สุดที่ช่วยในการลาดตระเวนตรวจการณ์ทางทะเลของกองทัพเรือ คือ เทคโนโลยีดาวเทียม-
dc.description.abstractalternativeThis thesis applies the Analytic Hierarchy Process to select the methods of Royal Thai Navy Maritime Patrols from 4 ways i.e. Satellite Technology, Unmanned Aerial Vehicle (UAV) Technology, Underwater Sensing Network, and Radars. All information used in this research were collected via questionnaires surveys and interviews from the expertise in maritime patrolling with the 4 methods and person who works in Naval Acquisition Management Office (NAMO). The survey is asking both participants to indicate degree of perceived importance level of each factor to select the suitable method of Royal Thai Navy Maritime Patrols. Pairwise comparison was applied to prioritize the factors by score 1 to 9 maximum. The research result revealed that the most important decision factors affected the selection the suitable method of Royal Thai Navy Maritime Patrols ranking from highest to lowest were User’s safety, Risk of an offensive, Usability, Reliability and the Preciseness of data. As the result mentioned above, the suitable method for the Royal Thai Navy Maritime Patrolling is Satellite Technology.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.645-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการประยุกต์ใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์เพื่อเลือกวิธีการที่ช่วยในการลาดตระเวน ตรวจการณ์ทางทะเลของกองทัพเรือ-
dc.title.alternativeAHP application for method selection of Royal Thai Navy Maritime Patrols-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการบริหารกิจการทางทะเล-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.645-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6087202520.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.