Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8320
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเทพ กลชาญวิทย์-
dc.contributor.authorสุนทร ชลประเสริฐสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-10-17T06:23:03Z-
dc.date.available2008-10-17T06:23:03Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8320-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractความสำคัญและที่มา : โรคกรดไหลย้อนประกอบด้วยอาการหลักใหญ่ๆ 2 ประเภท คือ อาการจำเพาะต่อโรคซึ่งจะมีอาการแสบร้อนหน้าอกหรือเรอเปรี้ยว กับอาการที่ไม่จำเพาะต่อโรคงานวิจัยนี้ต้องการศึกษาเปรียบเทียบการรับความรู้สึกของผู้ป่วยที่เป็นโรคกรดไหลย้อนต่อการขยายขนาดของลูกโป่งในหลอดอาหารร่วมกับการรับความรู้สึกต่อการใส่กรดเข้าไปในหลอดอาหารเปรียบเทียบผู้ป่วยที่อาการจำเพาะต่อโรคกับผู้ป่วยที่อาการไม่จำเพาะต่อโรค โดยสมมติฐานว่าผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มนี้น่าจะมีการรับความรู้สึกที่แตกต่างกัน ระเบียบวิธีวิจัย : ผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนกลุ่มที่มีอาการจำเพาะ 20 ราย และกลุ่มที่อาการไม่จำเพาะ 20 ราย มาทำการตรวจวัดความรู้สึกด้วยการขยายขนาดของลูกโป่งในหลอดอาหาร เพื่อประเมินการรับความรู้สึกต่อแรงทางกายภาพ โดยที่ลูกโป่งจะค่อยๆ ขนาดขึ้น พร้อมกับถามอาการผู้ป่วยเป็น 4 ระดับ คือ ไม่มีความรู้สึก เริ่มมีความรู้สึก รู้สึกอึดอัด และรู้สึกเจ็บ สำหรับการประเมินการรับความรู้สึกต่อสารเคมีทำโดยใส่กรดเข้าไปในหลอดอาหารและให้ผู้ป่วยประเมินอาการโดยให้คะแนนเป็น visual analogue scale และคะแนนความเจ็บปวดต่อกรด ผลการวิจัย : ผู้ป่วยที่มีอาการจำเพาะต่อโรคกรดไหลย้อนจะสามารถทนต่อการขยายขนาดของลูกโป่งได้มากกว่าผู้ป่วยที่ไม่มีอาการจำเพาะต่อโรคกรดไหลย้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มที่ผลการตรวจวัดกรดในหลอดอาหารเป็นบวก (26.66+-7.91 มล. กับ 18.75+-4.40 มล. ตามลำดับ, ค่า p น้อยกว่า 0.05) ส่วนการทดสอบการรับรู้ต่อการใส่กรดเข้าไปในหลอดอาหารพบว่าทั้งสองกลุ่มสามารถทนต่อกรดซึ่งวัดด้วยคะแนนความเจ็บปวดต่อกรดได้ไม่แตกต่างกันen
dc.description.abstractalternativeBackground: Gastroesophageal reflux disease (GERD) has two major symptoms. Typical GERD presents with heartburn or acid regurgitation and atypical GERD presents with variety of symptoms. The aim of this study was to compare the esophageal sensitivity to balloon distension and acid infusion of both groups. We hypothesized that visceral perception of both groups was different. Material and method: Perceptual responses to esophageal balloon distension and to intraluminal acid perfusion were evaluated in 20 typical GERD patients and in 20 atypical GERD patients. Mechanosensitivity was evaluated with a barostat using unbiased distension protocols and verbal ratings of sensations (no sensation, moderate sensation, discomfort, and pain). Chemosensitivity to acid was determined by using visual analogue scale and acid perfusion intensity score. Results: Typical GERD patients showed higher volume threshold of esophageal discomfort perception in response to phasic distension than atypical GERD patients, particulary in a subgroup analysis of patients with positive result of ambulatory pH monitoring (26.66 +- 7.91ml VS 18.75 +- 4.40ml, p< 0.05). The perception score in reponse to acid perfusion in both groups was similar. Conclusion: this result suggested that patients with atypical GERD symptom might have lower visceral threshold when compared to patients with typical GERD symptom, which warrant further research study.en
dc.format.extent888745 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1233-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกรดไหลย้อนen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้ความรู้สึกของหลอดอาหารต่อแรงกดและสารเคมีของผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนที่มีอาการจำเพาะและผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนที่มีอาการไม่จำเพาะกับโรคกรดไหลย้อนen
dc.title.alternativeA comparison study of esophageal perception to mechanical and chemical stimulation in patients with typical gastroesophageal reflux symptom and atypical gastroesophageal reflux symptomen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSutep.G@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1233-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Soonthorn.pdf867.92 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.