Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83401
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิไล อัศวเดชศักดิ์-
dc.contributor.authorกัลย์สุดา ปานพรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-08-04T08:29:12Z-
dc.date.available2023-08-04T08:29:12Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83401-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาแนวทางทางการออกแบบเรขศิลป์จากทฤษฎีด้านความรัก และเพื่อศึกษาหากลยุทธ์และแนวทางการออกแบบเรขศิลป์จากทฤษฎีด้านความรักสำหรับคู่มือการออกแบบเรขศิลป์ ดำเนินวิธีการวิจัยโดย 1. ศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีด้านความรัก 2. วิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์และประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบเรขศิลป์ วิเคราะห์ร่วมกับวรรณกรรมเพื่อระบุกลยุทธ์และแนวทางการออกแบบสำหรับคู่มือการออกแบบเรขศิลป์ 3. สร้างแบบสอบถามจากสารที่ต้องการจะสื่อและกลยุทธ์การใช้สื่อโดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบเรขศิลป์และใช้การกรองด้วยคำสำคัญ ผลวิจัยพบว่า 1. ค้นพบลักษณะความรักทั้งหมด 7 รูปแบบ ได้แก่ ความรักชอบพอ, ความรักหลงใหล, ความรักว่างเปล่า, ความรักโรแมนติก, ความรักเพื่อนคู่ชีวิต, ความรักโง่เขลา และความรักสมบูรณ์แบบ 2. ได้กลยุทธ์และแนวทางการออกแบบเรขศิลป์จากทฤษฎีด้านความรักที่เหมาะสมสำหรับคู่มือการออกแบบเรขศิลป์ และรูปแบบความรักที่สอดคล้องกับสกุลเมฆ ดังนี้ ความรักชอบพอเหมาะสมกับความสบาย ๆ, อิสระ, ดูสดชื่น ความรักหลงใหลเหมาะสมกับความมีเสน่ห์, พึงพอใจ, ไร้เดียงสา ความรักว่างเปล่าเหมาะสมกับความงียบ, อนุรักษ์นิยม, มีรสขม ความรักโรแมนติกเหมาะสมกับการชวนฝัน, อ่อนหวาน, ความสนุก ความรักเพื่อนคู่ชีวิตเหมาะสมกับความใกล้ชิด, เป็นผู้ใหญ่, มั่นคง ความรักโง่เขลาเหมาะสมกับความไม่นิ่ง, อ่อนแอ, ซับซ้อน ความรักสมบูรณ์แบบเหมาะสมกับความเรียบง่าย, เด่นชัด, มีชีวิตชีวา 3. ได้แนวทางการออกแบบเรขศิลป์จากทฤษฎีด้านความรักและรูปแบบความรักที่สอดคล้องกับสกุลเมฆสำหรับคู่มือการออกแบบเรขศิลป์ มีบุคลิกภาพและอารมณ์คือ ดูเหมาะสมที่จะใช้งาน (PRACTICAL), ดูเรียบง่าย (SIMPLE), อิสระ ไร้กฎเกณฑ์ (FREE) ได้สารที่ต้องการจะสื่อคือ ปรากฏการณ์รัก (Love Phenomenon)-
dc.description.abstractalternativeThe research methodology includes 1. Collecting and analyzing data related to love theories. 2. Qualitative research through interviews and evaluations by experts in graphic design. Analyzing together with literature to identify suitable directions and design strategies for manual book. 3. Creating questionnaires based on the desired media and strategies for using media, conducted by a group of experts in graphic design, and utilizing keyword filtering. The research findings revealed the following: 1. The identification of 7 love types, namely: Liking, Infatuated Love, Empty Love, Romantic Love, Companionate Love, Fatuous Love, and Consummate Love. 2. Strategies and design principles were developed based on love theories that are suitable for manual book and love types that correspond to cloud genera, as follows: Liking is suitable for a comfortable. Infatuated Love aligns with charm. Empty Love corresponds to bitterness. Romantic Love is fitting for inspiring dreams. Companionate Love suits maturity. Fatuous Love relates to complexity. Consummate Love aligns with simplicity. 3. The formulation of design guidelines based on love theories that are suitable for manual book and love types that align with cloud genera, which evoke personality and mood&tone, namely: Practical, Simple, and Free, and involve the concept is Love Phenomenon.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2022.225-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.subject.classificationPsychology-
dc.subject.classificationEarth and Planetary Sciences-
dc.subject.classificationArts, entertainment and recreation-
dc.subject.classificationDesign-
dc.titleการออกแบบเรขศิลป์จากทฤษฎีด้านความรัก-
dc.title.alternativeGraphic design from love theories-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2022.225-
Appears in Collections:Fine Arts - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6480003335.pdf8.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.