Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83637
Title: การหาดีเอ็นเอบาร์โค้ดของหนอนผีเสื้อให้อาศัยและแมลงเบียนในพื้นที่โครงการ อพ.สธ. : รายงานผลการดำเนินงาน
Other Titles: DNA barcoding of lepidopteran hosts and their parasitoids at RSPG areas
Authors: บัณฑิกา อารีย์กุล บุทเชอร์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: แตนเบียน
หนอนผีเสื้อ
แมลงศัตรูพืช
ดีเอ็นเอ
Parasitic wasps
Insect pests
DNA
Issue Date: 2562
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ดีเอ็นเอบาร์โค้ด เป็นเทคนิคทางอณูพันธุศาสตร์นำมาประยุกต์ใช้ในการวินิจฉัยชนิดของแมลงได้อย่าง ถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว ดังนั้นงานวิจัยนี้ได้นำประโยชน์ของดีเอ็นเอบาร์โค้ดมาใช้ในการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของหนอนผีเสื้อให้อาศัย และแมลงเบียน โดยไม่ต้องมีการนำหนอนผีเสื้อมาเลี้ยงจนกลายเป็นตัวเต็มวัย หรือกลายเป็นแมลงเบียน (ในกรณีที่ถูกเบียน) ซึ่งสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ในการเลี้ยงหนอนผีเสื้อ เช่น ไม่มีพืชอาหาร หนอนผีเสื้อติดเชื้อรา และโรคอื่นๆ ตาย ปัญหาจากการวินิจฉัยชนิดหนอน ผีเสื้อให้ถูกต้อง ซึ่งค่อนข้างยาก ทำการเก็บตัวอย่างหนอนผีเสื้อจากพื้นที่โครงการอพ.สธ. อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี มาศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของหนอนผีเสื้อให้อาศัยและชนิดของแมลงเบียนด้วยเทคนิค ดีเอ็นเอบาร์โค้ด จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาสร้างสายใยอาหารระดับโมเลกุล ข้อมูลที่ได้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในการเลือกแมลงศัตรูธรรมชาติเพื่อใช้ในการควบคุมประชากรของแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี และเข้าใจ ความสัมพันธ์ทางนิเวศระหว่างหนอนผีเสื้อและแมลงเบียน ทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการอนุรักษ์และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
Other Abstract: DNA barcoding is one of molecular techniques which can be applied for accurate and fast insect identification. Therefore, this research using advantages of DNA barcoding to study the relationships between caterpillar hosts and their parasitoids, without having to rear caterpillars till they develop to butterflies/ moths or adult parasitoids (in case of caterpillars were parasitised by parasitoids). This method solves many problems occurred duing insect rearing, such as lack of food plants, caterpillart were infected by fungi or other microorganisms, lead to death. Moreover, morphological identification of the insects' immature stages is rather difficult. Caterpillars were collected from RSPG area, Kaeng Khoi district, Saraburi Province, to study caterpillar host-parasitoid relationships. Molecular food web was constructed according to the data discovered from this study. Results from the study aid in selection of natural enemies to control insect pests' populations in biological control programme and understanding ecological relationship between caterpillars and their parasitoid. This preliminary data can be used for sustainable conservation and management of natural resouces.
URI: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83637
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Buntika_Ar_Res_2562.pdf28.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.