Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83641
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นิพาดา เรือนแก้ว ดิษยทัต | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-09-29T01:32:42Z | - |
dc.date.available | 2023-09-29T01:32:42Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83641 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาโครงสร้างของสังคมพืชในป่าเต็งรังตามธรรมชาติและพื้นที่ฟื้นฟูระบบนิเวศบริเวณ พื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-สระบุรี อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่ฟื้นฟูด้วยการปลูกต้น กล้าสักสยามินทร์ และพื้นที่ฟื้นฟูด้วยต้นกล้าวงศ์ยางนาที่ชุบรากในเชื้อไมคอร์ไรซา ในพื้นที่ป่าเต็งรัง ทุติยภูมิ มี รัง (Shorea siamensis) เป็นชนิดเด่น ไม้ยืนต้นที่พบส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก การติดตามศึกษา ตั้งแต่ปี 2557-2561 แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ป่ากำลังมีการฟื้นตัวแต่มีข้อจำกัดของการเพิ่มขึ้นของไม้ยืนต้น ต้นกล้าสัก และต้นกล้าวงศ์ยางนาในแปลงปลูกมีการเพิ่มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางคอรากและความสูง การติดตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสังคมพืชใช้เป็นตัวชี้วัดแสดงถึงผลของการฟื้นฟูระบบนิเวศ อีกทั้ง สัตว์ในดินที่พบในแปลงศึกษาอาจใช้เป็นตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study monitored characteristics of plant community structure of a natural dry dipterocarp forest and forest restoration areas planted with either teak or dipterocarp seedlings inoculated with ectomycorrhizal fungi in the Chulalongkorn University-Saraburi Area, Kangkhoi District, Saraburi Province. Shorea siamensis was the dominant tree species in the dipterocarp forest plot. Most trees were small; the continuing study from 2014-2018 showed that the forest was undergoing succession but could suffer from limited recruitment. Teak and dipterocarp seedlings showed increases in root-collar diameters and heights. Monitoring the changes in plant community structure will indicate the outcome of forest restoration efforts. Data on soil fauna from the study plots could also be used as additional indicators. | en_US |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2561 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สังคมพืช | en_US |
dc.subject | การจัดการระบบนิเวศ -- ไทย -- สระบุรี | en_US |
dc.subject | นิเวศวิทยาปาไม้ | en_US |
dc.subject | Plant communities | en_US |
dc.subject | Ecosystem management -- Thailand -- Saraburi | en_US |
dc.subject | Forest ecology | en_US |
dc.title | โครงสร้างสังคมพืชในพื้นที่ฟื้นฟูระบบนิเวศบริเวณพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-สระบุรี อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี : รายงานผลการดำเนินงาน | en_US |
dc.title.alternative | Plant community structure in ecosystem restoration area in, Chulalongkorn University-Saraburi Area, Kaeng Khoi Distri,Saraburi Province | en_US |
dc.title.alternative | โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชดำริโดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nipada_Ru_Res_2562.pdf | 19.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.