Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83866
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุวบุญ จิรชาญชัย | - |
dc.contributor.author | สิรภัทร วีระถาวร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-08T10:01:55Z | - |
dc.date.available | 2023-12-08T10:01:55Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83866 | - |
dc.description.abstract | ไฮโดรเจล (hydrogel) เป็นวัสดุที่อยู่บนความคาดหวังในการนำมาใช้ในการแก้ปัญหาดินแห้งและการรักษาความชุ่นชื้นในดิน ในการที่จะให้ไฮโดรเจลปลดปล่อยน้ำจากโครงสร้างไฮโดรเจล ณ อุณหภูมิที่กำหนดได้นั้น ไฮโดรเจลจำเป็นจะต้องผ่านการออกแบบให้มีกลไกตอบสนองต่ออุณหภูมิได้ ในงานวิจัยนี้ คณะวิจัยเสนอแนวคิดของไฮโดรเจลที่เตรียมจากโคพอลิเมอร์ที่ตอบสนองต่ออุณหภูมิเพื่อให้อุณหภูมิต่ำกว่าวิกฤตสารละลาย (LCST) นำไปสู่สายโซ่พอลิเมอร์ที่หดตัวทับกันเพื่อบีบสายโซ่เชื่อมขวางพอลิเมอร์และนำไปสู่การที่น้ำถูกบีบคายออกงานวิจัยนี้จึงเสนอการออกแบบโมเลกุลและการสังเคราะห์ไฮโดรเจลแบบเชื่อมขวางสองร่างแหภายใต้โครงสร้างของพอลิ(เอ็น-ไอโซพรอพิลอะคริลาไมด์)-โค-พอลิอคริลิก เอซิด งานวิจัยนี้ครอบคลุมขั้นตอนการสังเคราะห์และเตรียมไฮโดรเจลการพิสูจน์ทราบโครงสร้าง การติดตามค่า LCST รวมถึงการศึกษาสมบัติการตอบรับอุณหภูมิผ่านกรณีศึกษาของดิน | en_US |
dc.description.abstractalternative | Hydrogels are promising materials for soil amendment and moisture conservation due to their high water holding capacity. In order to release more water from hydrogel structure at the designated temperature, the hydrogel needs to be designed with thermoresponsive function. Here, we propose the concept of thermoresponsive copolymer hydrogel so that the lower critical solution temperature (LCST) leads to polymer chain collapsing to squeeze hydrogel matrices and allows water to be released. The present work demonstrates the molecular design and synthesis of dual-crosslink hydrogel based on poly(N-isopropylacrylamide)-co-polyacrylic acid (PNIPAM-co-PAA). The present work covers the steps of hydrogel synthesis and chemical structure characterization, the LCST investigation, including the thermoresponsive performances in the soil model case study. | en_US |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ปีงบประมาณ 2561 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ดิน | en_US |
dc.subject | นาโนเจล | en_US |
dc.subject | คอลลอยด์ | en_US |
dc.subject | การปรับปรุงดิน | en_US |
dc.title | รายงานผลการวิจัย ไฮโดรเจลแบบร่างแหสองชั้นเพื่อการพัฒนาดินอย่างยั่งยืน | en_US |
dc.title.alternative | Dual-Crosslink Hydrogel Based on Poly(N-isopropylacrylamide)-co-Polyacrylic Acid for Sustanable Soil Amendment | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
Appears in Collections: | Petro - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwabun_Ch_Res_2561.pdf | รายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext) | 40.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.