Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณี แกมเกตุ-
dc.contributor.authorเอกรัฐ พิมไทย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2008-11-07T02:30:57Z-
dc.date.available2008-11-07T02:30:57Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741747977-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8416-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความไม่เสมอภาคในการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ รวมทั้งเพื่อศึกษาแนวโน้มของความไม่เสมอภาคในการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพของนักเรียนที่มีอาชีพและระดับการศึกษาของผู้ปกครอง รวมถึงนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนที่มีขนาดและสถานที่ตั้งแตกต่างกัน ในโรงเรียนที่จัดการศึกษาภาคบังคับ เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างปีการศึกษา 2542-2546 ข้อมูลที่ ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เก็บรวบรวมจากนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 960 คน โดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ดัชนีความไม่เสมอภาค ได้แก่ ดัชนี Shorrock order 2 เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความไม่เสมอภาค และใช้การวิเคราะห์การถดถอย (regression analysis) เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มของความ ไม่เสมอภาค ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการศึกษาค่าความไม่เสมอภาคในการได้รับการศึกษาที่มี คุณภาพของนักเรียน พบว่า ค่าความไม่เสมอภาคในการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพของนักเรียนใน ภาพรวมมีค่าสูงสุดในปีการศึกษา 2542 และลดลงอย่างต่อเนื่องจนถึงปีการศึกษา 2546 รวมทั้งผลการศึกษา ค่าความไม่เสมอภาคในการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพของนักเรียนจำแนกตามคุณสมบัติของประชากร พบว่า นักเรียนที่ผู้ปกครองประกอบอาชีพเกษตรกร มีการศึกษาระดับประถมศึกษารวมไปถึง นักเรียนที่ ศึกษาโรงเรียนขนาดกลางและศึกษาในโรงเรียนที่มีสถานที่ตั้งอยู่นอกเมืองมีค่าความไม่เสมอภาคในการ ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพสูงสุดในกลุ่มเมื่อจำแนกตามคุณสมบัติของประชากร ในขณะเดียวกันนักเรียน ที่ผู้ปกครองประกอบอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ มีการศึกษาระดับอนุปริญญา รวมไปถึงนักเรียนที่ศึกษา โรงเรียนขนาดเล็กและศึกษาในโรงเรียนที่มีสถานที่ตั้งอยู่ในเมือง มีค่าความไม่เสมอภาคในการได้รับ การศึกษาที่มีคุณภาพต่ำสุดในกลุ่มเมื่อจำแนกตามคุณสมบัติของประชากร 2) ผลการศึกษาแนวโน้ม ค่าความไม่เสมอภาคในการได้รับศึกษาที่มีคุณภาพของนักเรียนในภาพรวม ระหว่างปีการศึกษา 2542-2546 พบว่า การได้รับศึกษาที่มีคุณภาพของนักเรียนมีแนวโน้มของค่าความไม่เสมอภาคลดลงรวมทั้ง ผลการ ศึกษาแนวโน้มค่าความไม่เสมอภาคในการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพของนักเรียนจำแนกตามคุณสมบัติ ของประชากร พบว่า นักเรียนที่ผู้ปกครองประกอบอาชีพเกษตรกร รับจ้าง และรับราชการ รวมไปถึง ผู้ปกครองที่มีการศึกษาระดับประถมศึกษาและนักเรียนที่ศึกษาโรงเรียนที่มีสถานที่ตั้งอยู่ในเมืองมีแนวโน้มค่าความไม่เสมอภาคในการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพของนักเรียนลดลงen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to study and compare the inequality of access to quality education, including the inequality trends of inequality of access to quality education of student in the 1999 2003, North East compulsory schools among groups with different parental education and occupation, and different school size and location. Data used in this research were collected from a sample of 960 students using questionnaire. Shorrock order 2 index was used as an inequality index in data analysis in order to analyze the factors affecting inequality. Multiple regression analysis was used to study the trend of the inequality. The research results were as follow: 1). The result of the inequality of access to quality education of the students revealed that the inequalities of access to quality education of the students were highest in 1999 and had been declining until 2003. Moreover, the result of the inequality of access to quality education of the students classified by the qualification of the population demonstrates that students whose parents were agriculturists had a primary education. Students who study in the middle school and students who study in the upcountry school had the highest inequality in the education among the group sampling. On the other hand, students whose parents were government enterprise officers had a diploma education and students who study in small schools and located in the city had the lowest inequality in the group sampling. 2). The result of the trend of inequality of access to quality education of students between 1999-2003 demonstrated that the inequality in achieving quality education of students was overall declining. As well as the result if inequality in achieving quality education of population reveals that the reducing trend of inequality in achieving quality education of students consists of students whose parents were agriculturists, employees and government workers of parents who studied the primary education and students who study in the city school.en
dc.format.extent2158824 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษา -- ไทยen
dc.subjectความเสมอภาคทางการศึกษา -- ไทยen
dc.titleความไม่เสมอภาคในการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ : การวิเคราะห์แยกระดับความไม่เสมอภาคและแนวโน้มen
dc.title.alternativeInequality of access to quality education : decomposition of inequality and trends analysisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorwkaemkate@hotmail.com-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
eakarat.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.