Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8453
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมะลิ หุ่นสม-
dc.contributor.advisorสงบทิพย์ พงศ์สถาบดี-
dc.contributor.authorชนนิกานต์ เล็กขาว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-11-14T07:32:13Z-
dc.date.available2008-11-14T07:32:13Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741418116-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8453-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมโดยวิธีการแพร่ซึมและวิธีคอลลอยด์เพื่อใช้เร่งปฏิกิริยารีดักชันของออกซิเจนในเซลล์เชื้อเพลงชนิดเยื่อแผ่นแลกเปลี่ยนโปรตอน พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยวิธีการแพร่ซึมมีสมบัติดีกว่าการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยวิธีคอลลอยด์ ดังนั้นจึงนำตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมที่เตรียมโดยวิธีการแพร่ซึมไปเตรียมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะผสม โดยเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะผสม Pt-M/C (M = Co และ Cr) เพื่อใช้ในการเร่งปฏิกิริยารีดักชันในเซลล์เชื้อเพลิงชนิดเยื่อแผ่นแลกเปลี่ยนโปรตอน พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะผสมแพลทินัมโคบอลต์มีความสามารถในการเร่งปฏิกิริยารีดักชันของออกซิเจนสูงกว่าตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะผสมแพลทินัมโครเมียม โดยตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะผสมแพลทินัมโคบอลต์ที่อัตราส่วนโดยอะตอมเท่ากับ 1:1 และเผาที่ 900 องศาเซลเซียส ระยะเวลาในการเผาคือ 90 นาที จะให้ประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาสูงที่สุด โดยสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 11.25 มิลลิแอมแปร์ต่อตารางเซนติเมตร ที่ศักย์ไฟฟ้า 0.7 โวลต์en
dc.description.abstractalternativeThis research was carried out to prepare the electrocatalyst by the impregnation and colloidal methods for using as a cathode catalyst in proton exchange membrane fuel cell. The preliminarily results indicated that the catalyst prepared by the impregnation method had the better proerties than that prepared by the colloidal method. Therefore, this method was used to prepare the Pt-M alloy (M = Co and Cr). It was found that the Pt-Co/C had the higher performance for oxygen reduction reaction than that of Pt-Cr/C. The optimum condition for preparing the Pt-Co alloy was found at atomic ratio of 1:1, calcinations temperature of 900 degrees celsius and calcinations time of 90 min. The electrocatalyst prepared at this condition can produce the current density of 11.25 mA/cm [superscript 2] at 0.7 volten
dc.format.extent2870800 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเซลล์เชื้อเพลิงen
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาen
dc.titleการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าโลหะผสมแพลทินัมสำหรับออกซิเจนรีดักชันในเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็มen
dc.title.alternativePreparation of platinum alloy electrocatalysts for oxygen reduction in PEM fuel cellen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisormali@sc.chula.ac.th-
dc.email.advisorpsangob@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chonnigarn.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.