Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8472
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิจศรี ชาญณรงค์ | - |
dc.contributor.advisor | กัมมันต์ พันธุมจินดา | - |
dc.contributor.author | กุลธิดา เมธาวศิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-11-26T03:08:49Z | - |
dc.date.available | 2008-11-26T03:08:49Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8472 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en |
dc.description.abstract | ความสำคัญและที่มาของการวิจัย: ความเสี่ยงในการเกิดสมองขาดเลือดซ้ำและภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจาก หลอดเลือดโคโรนารีอุดตันเพิ่มขึ้น ในผู้ป่วยสมองขาดเลือดที่สาเหตุจากภาวะหลอดเลือดแดงเข็งของหลอดเลือด แดงขนาดใหญ่ เป้าหมายของการศึกษานี้เพื่อเปรียบเทียบผลของโรคภายในระยะเวลา 2 ปี ของผู้ที่มีภาวะสมอง ขาดเลือดระหว่างผู้ที่มีหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดง อินเทอร์นอลคาโรติคส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะ กับผู้ที่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติด ส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะ วิธีการทำวิจัย: ผู้วิจัยทำการวิจัยแบบไปข้างหน้าของู้ป่วยสมองขาดเลือดจำนวน 123 คน ซึ่ง 71 คน มีหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะตีบ และ 52 คน มีหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติคนอก โพรงกะโหลกศีรษะตีบ โดยตรวจร่างกายทางประสาทวิทยาและตรวจทางรังสีวิทยาของสมองตั้งแต่เริ่มการวิจัย ผู้ป่วยทั้งหมดได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกของหน่วยประสาทวิทยาในระยะเวลาติดตามอาการ 24 เดือน โรคหลอดเลือดสมองซ้ำ, กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และ เสียชีวิต จะถูกบันทึกไว้ ผลการวิจัย: ผู้ป่วย 15 คนจากกลุ่ม หลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบ และ 18 คนจากกลุ่มหลอดเลือดแดงในโพรง กะโหลกศีรษะตีบเกิดโรคหลอดเลือดสมองซ้ำระหว่างติดตาอาการ (p<0.409) ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจาก หลอดเลือดโคโรนารีอุดตัน เกิดขึ้น 8 คนในกลุ่มหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบ และมีเพียง 1 คนในกลุ่มหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะตีบ (p<0.05) สาเหตุการเสียชีวิตคือมะเร็งระยะ สุดท้าย, โรคหลอดเลือดสมองและภาวะที่เกี่ยวข้อง และกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดโคโรนารีอุดตัน ปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดโคโรนารีอุดตันคือ หลอดเลือดแดง อินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะแบบมีอาการ (p<0.05, RR = 12.8) สรุปผลการวิจัย: การเกิดสมองขาด เลือดซ้ำและโรคหลอดเลือดสมองซ้ำระหว่างผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบ ของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลโคโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะและผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอล คาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดง อินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบมีอุบัติการณ์ของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดโคโรนารีอุดตันมากกว่าผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะอย่างมีนัยสำคัญ | en |
dc.description.abstractalternative | Background : The risks of recurrent ischemic stroke and acute coronary syndrome were increased in the large artery atherosclerotic subtype. The purpose of this study was to compare 2-year outcomes between ischemic stroke patients with intracranial arterial stenosis without significant extracranial carotid stenosis and patients with extracranial carotid stenosis. Methods : The author prospectively studied 123 ischemic stroke patients: 71 patients with intracranial arterial stenosis and 52 patients with extracranial carotid stenosis. Neurologic and radiologic investigations were performed at the beginning of the study. All of the patients were treated as regular out-patients of the neurology unit with a mean follow-up of 24 months. Recurrent stroke, myocardial infarction, and death were recorded. Results: Fifteen patients of extracranial carotid stenosis group and eighteen patients of intracranial arterial stenosis group developed recurrent stroke during follow-up (p = 0.049). Acute coronary syndrome occurred in eight patients of extracranial carotid stenosis group and only one of intracranial arterial stenosis group (p<0.05). Causes of death are end-stage cancers, stroke and related conditions, and acute coronary syndrome. The multivariate analysis showed symptomatic extracranial carotid stenosis is the important risk factor of acute coronary syndrome (p<0.05, RR = 12.8) Conclusion : There was no significant difference of recurrent ischemic stroke and recurrent stroke between patients with intracranial arterial stenosis without extracranial carotid stenosis and patients with extracranial carotid stenosis. On the other hand, patients with extracranial carotid stenosis significantly had more incidences of acute coronary syndrome than patients with intracranial arterial stenosis. | en |
dc.format.extent | 798515 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1210 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | หลอดเลือดสมอง -- โรค | en |
dc.subject | กะโหลกศรีษะ | en |
dc.subject | หลอดเลือดแดง | en |
dc.title | การเปรียบเทียบผลของโรคภายในระยะเวลา 2 ปีของผู้ที่มีภาวะสมองขาดเลือดโดยเปรียบเทียบระหว่างผู้ที่มีหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะกับผู้ที่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะ | en |
dc.title.alternative | Comparison of 2-year outcomes between ischemic stroke patients with intracranial arterial stenosis without significant extracranial carotid stenosis and patients with extracranial carotid stenosis | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | fmednsu@md2.md.chula.ac.th, nijasris@yahoo.com | - |
dc.email.advisor | Kammant.P@Chula.ac.th, fmedkpt@md2.md.chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.1210 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kulthida_Me.pdf | 908.71 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.