Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8474
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคมสัน เพ็ชรรักษ์-
dc.contributor.authorจีรพัฒน์ นวอนุรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-11-27T02:27:17Z-
dc.date.available2008-11-27T02:27:17Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741434286-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8474-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์(วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการพัฒนาโปรแกรมในการออกแบบกราวด์กริดของสถานีไฟฟ้าเมื่อพิจารณาดินเป็นแบบสองชั้นและชั้นเดียว โดยอ้างอิงการออกแบบตามมาตรฐาน IEEE 80- 2000 ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับการติดตั้งระบบต่อลงดินในสถานีไฟฟ้าให้เกิดความปลอดภัยพัฒนาข้อกำหนดในการออกแบบ และนำเสนอขั้นตอนการออกแบบตามข้อกำหนดอย่างง่ายในการคำนวณ จากข้อมูลของดินพบว่าดินส่วนมากที่พบเป็นดินแบบไม่สม่ำเสมอ การออกแบบกราวด์กริดของสถานีไฟฟ้าด้วยวิธีดินสองชั้นจะได้ค่าใกล้เคียงกับค่าที่เกิดขึ้นจริง เนื่องจากค่าพารามิเตอร์ที่คำนวณได้จากวิธีดินสองชั้นกับค่าที่วัดได้มีค่าใกล้เคียงกันมากกว่าการออกแบบกราวด์กริดดัวยดินชั้นเดียวตามมาตรฐาน IEEE 80- 2000 การออกแบบกราวด์กริดของสถานีไฟฟ้าด้วยวิธีดินสองชั้นของดินชนิดที่ 1 ตามมาตรฐาน IEEE 80-2000 แรงดันไฟฟ้าเมซและแรงดันไฟฟ้าช่วงก้าวของกราวด์กริดมีค่าน้อยกว่าการออกแบบกราวด์กริดด้วยดินชั้นเดียว ดังนั้นการออกแบบกราวด์กริดของสถานีไฟฟ้าด้วยวิธีดินสองชั้นทำให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ที่ปฏิบัติงานในสถานีไฟฟ้าและเกิดความประหยัด ส่วนการออกแบบกราวด์กริดด้วยดินชั้นเดียวตามมาตรฐาน IEEE 80-2000 ทำให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ที่ปฏิบัติงานในสถานีไฟฟ้าเพิ่มขึ้น แต่ในทางเศรษฐศาสตร์ไม่ทำให้เกิดความประหยัด และการออกแบบกราวด์กริดของสถานีไฟฟ้าด้วยวิธีดินสองชั้นของดินชนิดที่ 2 ตามมาตรฐาน IEEE 80-2000 แรงดันไฟฟ้าเมชและแรงดันไฟฟ้าช่วงก้าวของกราวด์กริดมีค่ามากกว่าการออกแบบกราวด์กริดด้วยดินชั้นเดียว ดังนั้นการออกแบบกราวด์กริดของสถานีไฟฟ้าด้วยวิธีดินสองชั้นทำให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ที่ปฏิบัติงานในสถานีไฟฟ้าเพิ่มขึ้น แต่ในทางเศรษฐศาสตร์ไม่ทำให้เกิดความปลอดภัยเมื่อเปรียบเทียบกับการออกแบบกราวด์กริดด้วยดินชั้นเดียวตามมาตรฐาน IEEE 80-2000en
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents the development of a computer software for substation ground grid design by using two-layer soil and uniform soil methods. The software was designed according to IEEE std. 80-2000, which advices about a safe method to install substation grounding system, a design guidelines as well as simple design procedures. Normally, most of soil was nonuniform. Using two-layer soil, parameters for substation ground grid design should provide a better result than substation ground grid design by using uniform soil parameter according to IEEE std. 80-2000. For substation ground grid designed by two-layer soil method of soil type 1, mesh voltage and step voltage are less than those calculated from uniform soil method. Therefore, application of two-layer soil method in ground grid design will provide safety to the operators in the substation, it is an economical design. In case of application of substation ground grid design by uniform soil method according to IEEE std. 80-2000 will provide more safety to the operators in the substation, but it is an expensive design. However for substation ground grid design by two-layer soil method of soil type 2, mesh voltage and step voltage are higher than those calculated from uniform soil method. Therefore, application of two-layer soil method in ground grid design will provide more safety to the operators in the substation, but it is an expensive design when compared to substation ground grid design by uniform soil method according to IEEE std. 80-2000.en
dc.format.extent1929241 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1345-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกระแสไฟฟ้า -- สายดินen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมสำหรับออกแบบกราวด์กริดของสถานีไฟฟ้าตามมาตรฐาน IEEE 80-2000en
dc.title.alternativeDevelopment of a computer software for substation ground grid design according to IEEE std. 80-2000en
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKomson.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1345-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jeerapat_Na.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.