Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8499
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chaodit Aswakul | - |
dc.contributor.advisor | Chaiyachet Saivichit | - |
dc.contributor.author | Sigit Basuki Wibowo | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering | - |
dc.date.accessioned | 2008-12-08T03:33:45Z | - |
dc.date.available | 2008-12-08T03:33:45Z | - |
dc.date.issued | 2005 | - |
dc.identifier.isbn | 9741755295 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8499 | - |
dc.description | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2005 | en |
dc.description.abstract | Mobile Ad Hoc Networks (MANETs) are infrastuctureless network. This can be deployed without existence of base station. Therefore, each node in the network must be capable of performing as host and router. One important problem of the ad hoc network is "routing". The network has to find appropriate paths from source to destination which has not been known yet. To satisfy today's requirements, ad hoc network should be capable of traversing multimedia applications. That is why the routing mechanism should also take into account the basic requirements of such applications. Jitter is one of most important metrics in real-time multimedia data transfer. Jitter should be kept as minimum as possible in order to get high quality multimedia transmission. Jitter control can be reduced by simple technique of buffering packet. In the multihop environment, the end-to-end jitter is a summation hop-by-hop jitter. Therefore, jitter control is applied to each intermediate node instead of at only the receiver. Multipath routing is another routing strategy in ad hoc network environment. Route dicovery process will find more than one valid route. Only one route is used for data transmission. The others are dedicated for backups and being monitored periodically to obtain jitter information. If there is a better path along data transmission process, it will be switched to the new path. By accomplishing this scheme, we can achieve ad-hoc multimedia communication routes with sufficiently low jitter. | en |
dc.description.abstractalternative | โครงข่ายเคลื่อนที่แบบแอดฮอกเป็นโครงข่ายที่ไม่ได้มีโครงสร้างล่วงหน้า และสามารถทำงานได้โดย ไม่จำเป็นต้องมีสถานีฐาน ดังนั้นโนดแต่ละโนดในโครงข่ายต้องสามารถเป็นได้ทั้งตัวรับส่งข้อมูลและตัวหา เส้นทาง ปัญหาที่สำคัญอันหนึ่งในโครงข่ายแอดฮอกนี้จึงเป็นปัญหาเรื่องของการหาเส้นทาง ซึ่งโครงข่าย จำเป็นต้องสามารถหาเส้นทางที่เหมาะสมต่างๆ จากต้นทางถึงปลายทางที่อาจจะยังไม่ทราบล่วงหน้าได้ นอกจากนี้เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน โครงข่ายแอดฮอกควรจะสามารถส่งผ่านข้อมูลแบบ สื่อผสมได้อีกด้วย ซึ่งเป็นเหตุผลเพิ่มเติมว่าทำไมกลไกการหาเส้นทางนั้น ควรต้องนำความต้องการพื้นฐาน ของข้อมูลสื่อผสมมาพิจารณาประกอบ จิตเตอร์จัดว่าเป็นตัววัดที่สำคัญอันหนึ่งในการส่งข้อมูลสื่อผสม แบบเวลาจริง โดยจิตเตอร์ควรจะมีค่าต่ำที่สุการควบคุมจิตเตอร์ให้ลดลงนั้นสามารถทำได้ด้วยเทคนิคง่ายๆ โดยการใช้บัฟเฟอร์เพื่อจัดเรียงแพ็กเก็ต ในสถานการณ์ที่มีการส่งต่อหลายทอด จิตเตอร์รวมต้องนับจาก ต้นทางจนถึงปลายทางสุดท้ายของการส่งข้อมูล ซึ่งสามารถหาได้จากการรวมค่าจิตเตอร์ของการส่งแต่ละ ทอด ด้วยเหตุผลดังกล่าว วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงประยุกต์การควบคุมจิตเตอร์ในโนดระหว่างทางทุกโนด แทนที่จะให้เพียงโนดปลายทางโนดเดียว ทำหน้าที่จัดการจิตเตอร์ นอกจากนี้วิทยานิพนธ์ยังได้เสนอใช้ เทคนิคการจัดหาเส้นทางแบบพหุวิถี เพื่อปรับปรุงจิตเตอร์ ทั้งนี้กระบวนการหาเส้นทางจะหาเส้นทางที่เป็น ไปได้มากกว่าหนึ่งเส้นทางโดย ณ ขณะเวลาหนึ่งๆ จะมีเพียงเส้นทางหลักเส้นทางเดียวที่ถูกใช้งาน และ เส้นทางอื่นๆ ถูกเก็บเป็นเส้นทางสำรอง เส้นทางต่างๆ นี้จะถูกตรวจสอบค่าจิตเตอร์อยู่ตลอดเวลาอย่าง สม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเมื่อมีเส้นทางสำรองใดที่ให้ค่าจิตเตอร์ที่ดีกว่าเส้นทางหลักที่กำลังใช้อยู่ เส้นทางสำรองนั้นจะถูกเปลี่ยนมาเป็นเส้นทางหลักสำหรับใช้ส่งข้อมูลแทน ด้วยการดำเนินการเช่นนี้ เราสามารถหาเส้นทางสื่อสารข้อมูลสื่อผสม ที่มีค่าจิตเตอร์ที่ต่ำเพียงพอได้ดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อให้ การส่งข้อมูลสื่อผสมดังกล่าวมีคุณภาพสูง การควบคุมจิตเตอร์ให้ลดลงนั้นสามารถทำได้ด้วยเทคนิคง่ายๆ โดยการใช้บัฟเฟอร์เพื่อจัดเรียงแพ็กเก็ต ในสถานการณ์ที่มีการส่งต่อหลายทอด จิตเตอร์รวมต้องนับจาก ต้นทางจนถึงปลายทางสุดท้ายของการส่งข้อมูล ซึ่งสามารถหาได้จากการรวมค่าจิตเตอร์ของการส่งแต่ละ ทอด ด้วยเหตุผลดังกล่าว วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงประยุกต์การควบคุมจิตเตอร์ในโนดระหว่างทางทุกโนด แทนที่จะให้เพียงโนดปลายทางโนดเดียว ทำหน้าที่จัดการจิตเตอร์ นอกจากนี้วิทยานิพนธ์ยังได้เสนอใช้ เทคนิคการจัดหาเส้นทางแบบพหุวิถี เพื่อปรับปรุงจิตเตอร์ ทั้งนี้กระบวนการหาเส้นทางจะหาเส้นทางที่เป็น ไปได้มากกว่าหนึ่งเส้นทางโดย ณ ขณะเวลาหนึ่งๆ จะมีเพียงเส้นทางหลักเส้นทางเดียวที่ถูกใช้งาน และ เส้นทางอื่นๆ ถูกเก็บเป็นเส้นทางสำรอง เส้นทางต่างๆ นี้จะถูกตรวจสอบค่าจิตเตอร์อยู่ตลอดเวลา อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเมื่อมีเส้นทางสำรองใดที่ให้ค่าจิตเตอร์ ที่ดีกว่าเส้นทางหลักที่กำลังใช้อยู่ เส้นทางสำรองนั้นจะถูกเปลี่ยนมาเป็นเส้นทางหลักสำหรับใช้ส่งข้อมูลแทน ด้วยการดำเนินการเช่นนี้ เราสามารถหาเส้นทางสื่อสารข้อมูลสื่อผสม ที่มีค่าจิตเตอร์ที่ต่ำเพียงพอได้ | en |
dc.format.extent | 1047398 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1628 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Mobile communication systems | en |
dc.subject | Ad hoc networks (Computer networks) | en |
dc.subject | Wireless communication systems | en |
dc.title | Jitter management in multipath routing for mobile AD HOC network | en |
dc.title.alternative | การจัดการจิตเตอร์ในการจัดเส้นทางแบบพหุวิถี สำหรับโครงข่ายเคลื่อนที่แบบแอดฮอก | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | Master of Engineering | es |
dc.degree.level | Master's Degree | es |
dc.degree.discipline | Electrical Engineering | es |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
dc.email.advisor | Chaodit.A@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | chaiyachet.S@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2005.1628 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.