Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8708
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPisanu Sangiampongsa-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Political Science-
dc.date.accessioned2009-01-21T04:42:10Z-
dc.date.available2009-01-21T04:42:10Z-
dc.date.issued2008-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8708-
dc.description.abstractPeople with disabilities seem to experience hardship in life and other disadvantages. Such difficulty seems to be related to the fact that disabled people tend to lack many essential elements in life, which could stem from inadequate, inefficient, and ineffective welfare. Also related is the general public that tends to exhibit little or no concern about the disability issue. As such, three groups of people are identified to be associated with the disability issue – people with disabilities, the State offering the disability welfare, and the general public sharing social resources with disabled people. This study applies the public policy theory on issue definition and hypothesizes that the three groups perceive the disability issue differently regarding disability rights and disability as a social problem. This, in turn, leads to the lingering disability problems – the hardship and disadvantages among those with disabilities – without any correction. In terms of the research procedure, survey research method is used to reflect the perception of the three groups. The disability literature helps construct a survey instrument that examines the perception of these people. One-way analysis of variance and Tukey post hoc test are pursued to study the extent of difference in perception. The empirical findings indicate the different perceptions, in that people with disabilities exhibit more positive view on disability rights and perceive the disability issue more as a social problem than the general public and public officials representing the State. Such difference has an implication on the disability issue and policy. Within the public policy theory on issue definition, the variation in perception or a divided perception stymies the public understanding of the issue and prevents the disability issue from entering the State agenda. Also, the State usually pays attention to the public, whereby, in this case, the non-disabled public has a less positive view on disability rights and disability as a social problem than disabled people. Consequently, the State does not take any immediate action on the disability issue, therefore, maintaining the status quo. The study gives some suggestions that people with disabilities, the target of the disability policy, must be more active in engendering a favorable political and policy environment for the disability issue. Strong disability groups should be formed and press demand on the State to change the status quo. They could attach some viable policy solutions to the demand, while also cooperating with the bureaucracy in the implementation of the disability policy. The disability groups can also expand the disability issue to catch attention of the public, making the issue more of a social problem. Or the groups can find policy entrepreneurs with capability of pushing the issue into the State agenda.en
dc.description.abstractalternativeคนพิการดูเหมือนจะประสบกับความยากลำบากในการดำรงชีวิต และเผชิญความด้อยโอกาส ลักษณะเช่นนี้น่าจะมาจากการที่คนพิการขาดสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นความจำเป็นในชีวิตประจำวัน ซึ่งน่าจะเป็นผลสืบเนื่องจากการที่มีปัญหาในความไม่พอเพียงของสวัสดิการคนพิการ ตลอดจนการขาดทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของนโยบายสวัสดิการคนพิการนอกจากนี้แล้ว สังคมยังดูประหนึ่งว่าจะไม่ได้เกื้อกูลคนพิการเท่าใดนัก ดังนี้แล้ว ภายในประเด็นของความพิการนี้ โครงการวิจัยจึงได้ระบุคนสามกลุ่มที่น่าจะเกี่ยวข้องกับประเด็น คือกลุ่มคนพิการ ภาครัฐที่มีภาระหน้าที่ภายในนโยบายสาธารณะด้านสวัสดิการสังคม และประชาชนในสาธารณะ ที่อยู่ในสังคมเดียวกัน และใช้ทรัพยากรในสังคมร่วมกับคนพิการ โครงการวิจัยนี้มีสมมติฐานว่ากลุ่มคนทั้งสามนี้ มีมุมมองที่แตกต่างกัน หรือระบุประเด็นที่แตกต่างกัน ในเรื่องของสิทธิของคนพิการ และความเป็นปัญหาสังคมในประเด็นความพิการ อันเป็นที่มาของการไม่ได้แก้ไขปัญหาความพิการผ่านนโยบายสาธารณะโครงการวิจัยใช้วิธีการสำรวจมุมมองของกลุ่มคนสามกลุ่ม เพื่อเป็นข้อมูลของการวิจัยโดยที่ใช้วรรณกรรมด้านความพิการ มาช่วยออกแบบแบบสอบถาม เพื่อใช้สำรวจมุมมองดังกล่าวและในการวิเคราะห์ความเหมือน และ/หรือความแตกต่างของมุมมองนั้น โครงการวิจัยใช้ Oneway analysis of variance และ Tukey post hoc test เป็นหลักผลจากการวิเคราะห์มุมมอง ชี้ให้เห็นวากลุ่มคนพิการมีมุมมองในเชิงบวก ต่อสิทธิคนพิการ ตลอดจนมองว่าความพิการเป็นปัญหาสังคม มากกว่าคนในสังคมโดยรวม และกลุ่มข้าราชการ ที่มีภาระหน้าที่ด้านนโยบายสวัสดิการสังคม ซึ่งเป็นตัวแทนความเป็นภาครัฐ ความแตกต่างในมุมมองที่พบนี้ มีนัยสำคัญในประเด็นและในเชิงนโยบายด้านความพิการ กล่าวคือภายในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีนโยบายสาธารณะในเรื่องของการกำหนดและระบุประเด็นปัญหานโยบายนั้น มุมมองที่แตกต่างกันในประเด็น หรือมุมมองที่จำแนกกันโดยธรรมชาตินี้ จะทำให้เกิดการไม่เข้าใจ และไม่เห็นคล้อยตามกันในประเด็นหนึ่ง ๆ และทำให้เกิดการสะดุดของประเด็นหรือการไม่เคลื่อนไหวของประเด็นไปสู่วาระในเชิงนโยบายของรัฐ นอกจากนี้ รัฐโดยทั่วไป ทั้งที่อยู่ในระบอบประชาธิปไตยหรือไม่ก็ตาม มักจะจำเป็นต้องคำนึงถึงความเห็นของสังคมในประเด็นและนโยบายหนึ่ง ๆ และในเมื่อผลของการวิจัยเชิงประจักษ์นี้ ชี้ว่าสังคมโดยรวม ไม่ได้มีมุมมองหรือแนวโน้มที่จะเรียกร้องให้ภาครัฐแก้ไขปัญหาในเรื่องสิทธิคนพิการแต่อย่างได กับทั้งยังมองว่าประเด็นความพิการเป็นปัญหาสังคม ในระดับที่น้อยกว่าในมุมมองของคนพิการ ดังนั้น รัฐจึงไม่ได้มีความจำเป็นในทางการเมือง ที่จะแก้ไขปัญหาในทันที และจึงเป็นที่มาของปัญหาด้านความพิการที่คงอยู่ นั่นคือความยากลำบากในการดำรงชีวิตและด้อยโอกาสของคนพิการ ที่ไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรมโครงการวิจัยมีข้อเสนอแนะ ให้คนพิการมีบทบาทที่มากกว่าเป็นเพียงกลุ่มเป้าหมายของนโยบายด้านความพิการ โดยพยายามสร้างบรรยากาศทางการเมือง และบรรยากาศเชิงนโยบายที่เป็นบวกต่อประเด็นความพิการ โดยคนพิการควรดำเนินกิจกรรมเป็นกลุ่ม คือกลุ่มคนพิการ ซึ่งสามารถจะเรียกร้องรัฐให้แก้ไขปัญหาที่มีอยู่ และอาจนำเสนอเนื้อหา สาระของนโยบายที่ต้องการไปพร้อมกับการเรียกร้อง และยังอาจร่วมมือกับภาครัฐในการดำเนินนโยบายด้านสวัสดิการคนพิการ ซึ่งก็คือการที่กลุ่มคนพิการ ร่วมกับภาครัฐปฏิบัตินโยบายสวัสดิการคนพิการ หรือกลุ่มคนพิการอาจจะพยายามขยายประเด็นความพิการ ออกสู่ความสนใจของสาธารณะ นั่นคือการทำให้ประเด็นดูเป็นปัญหาสังคมในระดับที่สูงขึ้น นอกจากนี้ กลุ่มคนพิการยังอาจจะมองหาผู้ประกอบการนโยบาย ที่มีคุณลักษณะและคุณสมบัติที่สามารถช่วยผลักดันประเด็นความพิการเข้าสู่ว่าระการพิจารณาของรัฐen
dc.description.sponsorshipRatchadaphiseksomphot Endowment Funden
dc.format.extent715149 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectPeople with disabilities -- Legal status, laws, etc-
dc.subjectPeople with disabilities -- Services for-
dc.subjectPeople with disabilities -- Social status-
dc.titlePerceptions on disability rights and disability as a social problemen
dc.title.alternativeความพิการ : มุมมองด้านสิทธิและความเป็นปัญหาสังคม : รายงานวิจัยen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorNo information provided-
Appears in Collections:Pol - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pisanu_per.pdf698.39 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.