Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/871
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย ศิริกายะ-
dc.contributor.authorสิทธิรัตน์ น้อยสง่า, 2515--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-19T08:02:25Z-
dc.date.available2006-07-19T08:02:25Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740309291-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/871-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบพฤติกรรมในการใช้สื่อมวลชนของนักเรียนวัยรุ่นกลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนมากและนักเรียนวัยรุ่นกลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนน้อยมีความแตกต่างกันอย่างไร และเพื่อศึกษาว่าสื่อมวลชนได้ให้การเรียนรู้อะไรบ้างต่อนักเรียนวัยรุ่นกลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนมากและนักเรียนวัยรุ่นกลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนน้อยของโรงเรียนชุมชนบ้านน้ำฆ้อง อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี การศึกษาในงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยคุณภาพในวิธีการวิจัย โดยการสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลที่เป็นนักเรียนกลุ่มที่ศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนมาก และกลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนน้อย และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ผลการวิจัยพบว่าฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวและวิถีชีวิตประจำวัน มีผลต่อพฤติกรรม การใช้สื่อของกลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนมากและกลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนน้อย โทรทัศน์เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมสูงสุดมากกว่าสื่อมวลชนอื่นๆ ของกลุ่มนักเรียนที่ศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม โดยที่นักเรียนในกลุ่มที่ศึกษาทั้งสองกลุ่มชอบที่จะเปิดรับเนื้อหาประเภทบันเทิงมากกว่าเนื้อหาประเภทอื่นๆ สำหรับการเรียนรู้ของนักเรียนกลุ่มที่ศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม คือกลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนมากและกลุ่มผู้ใช้สื่อมวลชนน้อยมีการเรียนรู้ทางสังคมโดยการเรียนรู้จากการสังเกต จาก"ตัวแบบ" ในสื่อมวลชน ตัวแบบไม่ได้จำกัดเฉพาะในสื่อมวลชน แต่ตัวแบบที่เป็นบุคคลใกล้ชิดคือสมาชิกในครอบครัวและสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นได้ เช่น โรงเรียนและครอบครัวen
dc.description.abstractalternativeThe Objective of this research is to study the differencial pattern of mass media behavior between heavy and light users,the methodologies are in-depth interview and non-participate observation. The outcome reveals that economic family background as well as the way of life is affected the media behavior of heavy and light users.Television is the most popular media among the student of two groups. The most chosen type of the media made by the two groups to be the entertaining type in various forms and partly chose news type of media beneficial for the daily social lives.The learning of heavy and light users show that both of them have social learning by observation learning from mass media "model" and environmental conditions such as school and the members of family.en
dc.format.extent2121525 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.472-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.subjectสื่อมวลชนกับเยาวชนen
dc.subjectการเรียนรู้ทางสังคมen
dc.subjectโรงเรียนบ้านน้ำฆ้องen
dc.titleพฤติกรรมการใช้สื่อมวลชนและการเรียนรู้ทางสังคมของนักเรียนวัยรุ่น โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำฆ้อง อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานีen
dc.title.alternativeMass media uses and social learning behavior of teenage students at Bannumkong Community School, Kumpawapi district Udon Thani provinceen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSirichai.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.472-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sittirat.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.