Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8953
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์-
dc.contributor.authorเวทิน ชาติกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-08T07:21:15Z-
dc.date.available2009-06-08T07:21:15Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741300417-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8953-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้เขียนได้เสนอการพิจารณาความเป็นไปได้ของ 'การเปลี่ยนความเชื่อ' ในขณะที่มีการเปลี่ยนพาราไดม์ โดยในเบื้องต้นผู้เขียนจะได้พิจารณาถึง 'หลักความสามารถประเมินด้วยเกณฑ์เดียวกัน' ซึ่งเป็นแกนกลางของทัศนะเรื่องการเปลี่ยนความเชื่อของไอแซค เลวี่ การเปลี่ยนความเชื่อตามหลักการข้างต้นของเลวี่ ผู้เขียนคิดว่าสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเด็นคือ มี 'ความต่อเนื่อง' และ ' ความสามารถแปลได้' ไปตลอดกระบวนการการสืบความรู้ อย่างไรก็ตาม ทัศนะของโทมัส คูห์น ในเรื่อง 'ความไม่สามารถประเมินด้วยเกณฑ์เดียวกัน' ปฏิเสธทั้ง 2 ประเด็นดังกล่าวตามข้อเสนอของเลวี่ ข้อเสนอของคูห์นเป็นการปฏิเสธ 'ความต่อเนื่อง' และ 'ความสามารถแปลได้' ในระดับชุมชนวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะในเวลาที่มีการเปลี่ยนพาราไดม์ ผู้เขียนจะใช้แนวคิดเรื่อง 'มีม' หรือ การซ้ำแบบทางมโนทัศน์ที่ถูกเสนอโดยริชาร์ด ดอว์คิน เป็นคนแรก มาพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง 'ประสบการณ์' ของการเปลี่ยนความเชื่อของบุคคลกับ 'ปรากฏการณ์' การเปลี่ยนพาราไดม์ของชุมชนตามทัศนะของคูห์น จากนั้นผู้เขียนจะเสนอว่า เราไม่อาจปฏิเสธ 'ความไม่ต่อเนื่อง' ในกระบวนการการเปลี่ยนความเชื่อของบุคคลในขณะเปลี่ยนพาราไดม์ได้ แต่ในความไม่ต่อเนื่องนั้น แม้คูห์นจะกล่าวถึงข้อจำกัดของภาษาที่ทำให้เกิดความล้มเหลวในการแปลและปัญหาในการสื่อสารระหว่างกัน แต่เราสามารถหาวิธีสนทนาระหว่างสภาวะความเชื่อในพาราไดม์ที่ต่างกันได้ เช่น แนวคิดเรื่องการขนถ่ายเชิงมโนทัศน์ของฮอฟสตัดเตอร์ ที่มองการแปลไปในกระบวนการเชิงสร้างสรรค์ซึ่งเท่ากับว่าทัศนะเรื่อง 'ความไม่สามารถแปลได้' ของคูห์นอาจไม่ใช่อุปสรรคของการสืบความรู้ไปเสียทั้งหมดen
dc.description.abstractalternativeIn this thesis, I propose another look at the process of belief revision that happened during the transition period of paradigm change. First of all, I consider the commensurability thesis, which forms the core of Isaac Levi's notion of individual belief revision. Change of belief according to Levi can be considered in two ways : continuity and translatability along the process of inquiry. These ways, however, are denied by Thomas Kuhn, through his famous incommensurability thesis. I use the concept of 'meme', or conceptual replicators, first coined by Richard Dawkins, to consider the relation between the subjective experience of individual belief change and the phenomenon of paradigm change according to Kuhn. Then, I propose that one cannot deny discontinuity in the inquiry process in transition period, even though Kuhn has talked about the limitation of language leading to failure of translation and communication. One can nonetheless find in that discontinuity a way to carry on conversations between belief states in different paradigms, as suggested by Douglas Hofstadter's notion of conception transportation, which sees translation as a creative process. This means that Kuhn's worry about untranslability might not be an obstruction to an inquiry process.en
dc.format.extent2328334 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.207-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความเชื่อen
dc.subjectญาณวิทยาen
dc.subjectเลวี่, ไอแซค, ค.ศ.1930-en
dc.titleการเปลี่ยนความเชื่อen
dc.title.alternativeBelief revisionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineปรัชญาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSoraj.H@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.207-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wathin.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.