Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8965
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐพร พานโพธิ์ทอง-
dc.contributor.advisorเพียรศิริ วงศ์วิภานนท์-
dc.contributor.authorเทพี จรัสจรุงเกียรติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-09T10:51:48Z-
dc.date.available2009-06-09T10:51:48Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743467262-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8965-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาหน้าที่และความสัมพันธ์ทางความหมายของหน่วยเชื่อมโยง ในปริจเฉทภาษาไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนศึกษาวิวัฒนาการของหน่วยเชื่อมโยงโดยใช้ข้อมูลจากเอกสาร ที่ตีพิมพ์และเผยแพร่แล้วของแต่ละสมัย ผลการวิจัยพบว่าหน่วยเชื่อมโยงในปริจเฉทภาษาไทยจำแนกตามหน้าที่ได้ 2 ประเภท คือ หน่วยเชื่อมโยงจุลภาคและหน่วยเชื่อมโยงมหภาค หน่วยเชื่อมโยงจุลภาคจำแนกประเภททางอรรถศาสตร์ได้ทั้งหมด 13 ประเภท คือ แสดงความขัดแย้ง แสดงเงื่อนไข แสดงการคาดคะเนหรือสมมุติ แสดงทางเลือก แสดงการเสริม แสดงเวลา แสดงเหตุ แสดงวัตถุประสงค์และผล แสดงการเปรียบเทียบ แสดงตัวอย่าง แสดงการขยายความ แสดงการสรุปความ และแสดงวิธีการ ส่วนหน่วยเชื่อมโยงมหภาคจำแนกประเภททางอรรถศาสตร์ได้ทั้งหมด 6 ประเภท คือ บอกการเปลี่ยนประเด็น บอกการเพิ่มความ บอกการแจกแจงความ บอกการสรุปความ บอกความเป็นเหตุเป็นผล และบอกความขัดแย้ง ข้อมูลสมัยสุโขทัยประกอบด้วยปริจเฉท 2 ประเภทคือ นิทานปริจเฉทและปฏิบัติปริจเฉทพบหน่วยเชื่อมโยงทั้งหมด 50 หน่วยเชื่อมโยง จำแนกเป็นหน่วยเชื่อมโยงจุลภาค 11 ประเภท คือ แสดงความขัดแย้ง แสดงเงื่อนไข แสดงการคาดคะเนหรือสมมุติ แสดงการเสริม แสดงเวลา แสดงเหตุ แสดงวัตถุประสงค์และผล แสดงการเปรียบเทียบ แสดงตัวอย่าง แสดงการขยายความและแสดงวิธีการ จำแนกเป็นหน่วยเชื่อมโยงมหภาค 2 ประเภท คือ บอกการเปลี่ยนประเด็นและบอกการแจกแจงความ ข้อมูลสมัยอยุธยา ธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้นประกอบด้วยปริจเฉท 4 ประเภทคือนิทานปริจเฉท ปฏิบัติปริจเฉท ปราศรัยปริจเฉทและทัศนปริจเฉท พบหน่วยเชื่อมโยงทั้งหมด 90 หน่วยเชื่อมโยง จำแนกเป็นหน่วยเชื่อมโยงจุลภาค 12 ประเภท คือ แสดงความขัดแย้ง แสดงเงื่อนไข แสดงการคาดคะเนหรือสมมุติ แสดงการเสริม แสดงเวลา แสดงเหตุ แสดงผลและวัตถุประสงค์ แสดงการเปรียบเทียบ แสดงการขยายความ และแสดงวิธีการ จำแนกเป็นหน่วยเชื่อมโยงมหภาค 4 ประเภท คือ บอกการเปลี่ยนประเด็น บอกการเพิ่มความ บอกการแจกแจงความ และบอกความเป็นเหตุเป็นผล ข้อมูลสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมาเป็นปริจเฉท 4 ประเภทคือนิทานปริจเฉท ปฏิบัติปริจเฉท ปราศรัยปริจเฉทและทัศนปริจเฉท พบหน่วยเชื่อมโยงทั้งหมด 198 หน่วยเชื่อมโยง จำแนกเป็นหน่วยเชื่อมโยงจุลภาคทั้งหมด 13 ประเภท คือ แสดงความขัดแย้ง แสดงเงื่อนไข แสดงการคาดคะเนหรือสมมุติ แสดงทางเลือก แสดงการเสริม แสดงเวลา แสดงเหตุ แสดงผลและวัตถุประสงค์ แสดงการเปรียบเทียบ แสดงตัวอย่าง แสดงการขยายความ แสดงการสรุปความ และแสดงวิธีการ จำแนกเป็นหน่วยเชื่อมโยงมหภาคทั้งหมด 6 ประเภท คือ บอกการเปลี่ยนแปลงประเด็น บอกการเพิ่มความ บอกการแจกแจงความ บอกการสรุปความ บอกความเป็นเหตุผล และบอกความขัดแย้ง จากการศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของหน่วยเชื่อมโยงทั้งหมด 4 ด้าน คือ จำนวน ขนาด และรูป หน้าที่และความหมาย จะพบว่า หน่วยเชื่อมโยงมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของจำนวนและขนาดมากที่สุด เพื่อให้สามารถแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นมากยิ่งขึ้น ในขณะที่เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงทางความหมายของหน่วยเชื่อมโยงแต่ละหน่วยเชื่อมโยงมีเพียง 6 หน่วยเชื่อมโยงเท่านั้นที่เปลี่ยนแปลง คือ ด้วย ต่อ แต่ เท่า เพื่อ หาก หากแต่การเพิ่มขึ้นของหน่วยเชื่อมโยงในแต่ละประเภททางอรรถศาสตร์กลับมากขึ้นทั้งหน่วยเชื่อมโยงจุลภาคและมหภาค มีหน่วยเชื่อมโยงระดับจุลภาคที่แสดงวิธีการเท่านั้นที่มีจำนวนหน่วยเชื่อมลดลง 1 หน่วยเชื่อโยงen
dc.description.abstractalternativeThis research is a diachronic study of discourse connectors in Thai. The discourse connectors elicited from published documents dated from the Sukhothai period to the present are examined in terms of their function, structure, as well as meaning. It is found that discourse connectors in Thai can be classified according to their functions into two types-the micro and the macro level connectors. The micro level connectors are then subcategorized according to their meaning into 13 subtypes: contrastive, conditional, conjecture, alternative, additive, temporal, causal, purposive and resulative, comparative, exemplificatory, restatement, conclusion and enablement. The macro level, on the other hand, are divided into 6 types: transitional, additive, elaboration, conclusive, causal, and adversative. The sample document of the Sukhothai period can be devided into two types of discourse : narrative and procedural. Fifty connectors are found in the document. These 50 connectors are of eleven types of the micro level and two types of the macro level of the cohesion. The micro level connectors are of the contrastive, conditional, conjecture, additive, temporal, causal, purposive and resulative, comparative, exemplificatory, restatement and enablement types. The macro connectors describe transition and elaboration. The sample document of the Ayudhya period belongs to four types of discourse : narrative, procedural, hortatory, and expository. There are 90 connectors found in the document. These 90 connectors are of twelve types of micro level and two types of macro level. The micro level types are contrastive, conditional, conjecture, alternative, additive, temporal, causal, purposive and resultative, comparative, exemplificatory, restatement, and enablement ; whereas the two types at the macro level are elabloration and causal. The sample document of the Ratanakosin period belongs to four types of discourse : narrative, procedural, hortatory, and expository. There are 198 connectors found in the documents. These 198 connectors are of 13 types at the micro level and 6 types at the macro level. The micro level connectors are contrastive, conditional, conjecture, alternative, additive, temporal, causal, purposive and resulative, comparative, exemplificatory, restatement, conclusion and enablement while the macro level connectors are transitional, additive, elaboration, conclusive, causal and adversative. The development of the connectors in terms of number, form, function, as well as meaning are also analysed. The study reveals that the change in term of number and form are the most apparent. This is due to the fact these connectors are needed to express attitude and opinions. The change in terms of meaning, on the other hand, is not significant. It is found that only six reveal semantic changes. Nevertheless, the number of connectors of almost every semantic type became larger.en
dc.format.extent1506788 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.208-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาไทย -- ประวัติen
dc.subjectภาษาไทย -- วจนะวิเคราะห์en
dc.titleหน่วยเชื่อมโยงปริจเฉทภาษาไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบันen
dc.title.alternativeDiscourse connectors in Thai from the Sukhothai period to the presenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineภาษาไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNatthaporn.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.208-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Debi.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.