Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8966
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์-
dc.contributor.authorยุทธนา สุวรรณประดิษฐ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-06-09T10:55:59Z-
dc.date.available2009-06-09T10:55:59Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741313535-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8966-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยไม่มีบทบัญญัติใด ที่รับรองสิทธิและเสรีภาพแห่งความพึงพอใจทางเพศ ของบุคคลรักร่วมเพศชายไว้ ถึงแม้ว่าความพึงพอใจทางเพศเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ซึ่งเกิดขึ้นและติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด และถือเป็นสิทธิส่วนตัว ซึ่งไม่มีใครสามารถแทรกแซงได้ และรัฐจะต้องให้ความคุ้มครองด้วย จากการศึกษาพบว่าเมื่อรัฐธรรมนูญไม่รับรองสิทธิและเสรีภาพ แห่งความพึงพอใจทางเพศของบุคคลรักร่วมเพศ กฎหมายลำดับรองจึงไม่สามารถบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลรักร่วมเพศชายได้ ไม่ว่าจะเป็นการจดทะเบียนการอยู่ร่วมกัน การให้สิทธิได้รับสวัสดิการที่จำเป็นจากภาครัฐและเอกชน สิทธิในการเป็นผู้อุปการะบุตรโดยสายเลือด สิทธิได้รับการลดหย่อนภาษี สิทธิในการรับมรดกจากคู่รักในฐานะทายาทโดยธรรม สิทธิได้รับความคุ้มครองในทางแพ่งในชีวิตความเป็นส่วนตัว และทรัพย์สินจากการถูกละเมิดของบุคคลภายนอก รวมถึงการได้รับความคุ้มครองในชีวิตและร่างกายตามกฎหมายอาญา วิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้วิจัยในลักษณะการวิจัยเอกสาร และวิจัยภาคสนามเพื่อการหาข้อมูลเกี่ยวกับ ทัศนคติของนักกฎหมาย แพทย์ บุคคลทั่วไปและบุคคลรักร่วมเพศ โดยมุ่งศึกษาประเด็นทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ สิทธิและเสรีภาพของบุคคลรักร่วมเพศ ซึ่งได้ข้อสรุปและข้อเสนอแนะจากการศึกษาว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ควรบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพความพึงพอใจทางเพศ ของบุคคลไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และแก้ไขกฎหมายลำดับรองให้เกิดความสอดคล้อง กับรัฐธรรมนูญที่รับรองสิทธิและเสรีภาพความพึงพอใจทางเพศของบุคคล ทั้งนี้การแก้ไขกฎหมายดังกล่าวจะต้องไม่กระทบกระเทือน ต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนด้วยen
dc.description.abstractalternativeNone of any provisions in the constitution of Thailand recognize rights and liberties of sexual orientation for male homosexual. Meanwhile, the sexual orientation is the fundamental right that has been arisen and adhered people since they were born, and is the privacy right which no one can interfere and states must provide them protection. Base on studying, because of neither recognition of sexual orientation for male homosexual under the Constitution, nor other subordinate laws then recognize the rights and liberties of male homosexual as well. Rights and liberties vital to them those are the right to be registered partner from cohabitation, the right to enjoy benefits and welfare from government and private sections, the right to adopt child in blood, the right to tax reduction from cohabitation, the right to be successor from lover's property, the right to be protected from violation in life of privacy and property under the civil law including the right to be protected from any action against life and physic subject to the criminal Law also. The study of this thesis is the documentary research and is also the statistical survey of opinion among lawyers, doctors, layman and male homosexual. Its objective is to study legal issues related to the rights and liberties of male homosexual. Therefore it comes to conclusion and suggestion that term "Right and Liberty of people in Sexual Orientation" should be contained in the Constitution and other subordinate laws themselves must be amended consistently. By the way the amendment shall not impact peace and moral of society.en
dc.format.extent3546485 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรักร่วมเพศen
dc.subjectรักร่วมเพศชายen
dc.subjectสิทธิเสรีภาพen
dc.subjectเสรีภาพen
dc.subjectกฎหมายรัฐธรรมนูญ -- ไทยen
dc.titleสิทธิและเสรีภาพของรักร่วมเพศชายตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ : วิเคราะห์จากปัญหาของสังคมไทยen
dc.title.alternativeRights and liberties of male homosexual under the constitutional law : analyzing from Thai social problemsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yuttana.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.