Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9019
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุรา ปานเจริญ | - |
dc.contributor.advisor | มนตรี บุญลอย | - |
dc.contributor.author | เครือวัลย์ มงคลพาณิชย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-06-11T02:27:50Z | - |
dc.date.available | 2009-06-11T02:27:50Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9741300662 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9019 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | การนำกรดซัลฟิวริกกลับมาใช้จากน้ำทิ้ง โดยกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่จะสามารถช่วยแก้ปัญหา เรื่องค่าใช้จ่ายด้านสารเคมี ใช้ประหยัดลงได้และยังเป็นการใช้เครื่องแลกเปลี่ยนไอออน ที่ไม่ได้ใช้งานแล้วนำมาให้เกิดประโยชน์ที่สุด โดยนำมาใช้งานร่วมกับกระบวกการบำบัดน้ำทิ้ง ซึ่งในน้ำทิ้งที่ผ่านการบำบัดแล้ว จะยังคงมีปริมาณซัลเฟตไอออนละลายอยู่มาก และสามารถนำมาเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของกรดซัลฟิวริก โดยให้น้ำไหลผ่านชั้นเรซินประจุบวก อนึ่ง ในน้ำทิ้งยังมีปริมาณของไอออนประจุบวกอื่นๆ อีก เมื่อให้น้ำไหลผ่านชั้นเรซินประจุบวกดูดซับเอาไอออนประจุบวกไว้ และปลดปล่อยประจุไฮโดรเจนบวกออกมาจับกับซัลเฟตไอออนลบ ได้เป็นกรดซัลฟิวริกซึ่งยังมีความเข้มข้นต่ำ และเนื่องจากในกระบวนการบำบัดน้ำทิ้งมีการใช้กรดซัลฟิวริกเข้มข้น 50% ซึ่งเป็นความเข้มข้นที่สูงไม่เหมาะสม ที่จะใช้เติมลงในน้ำทิ้งเพื่อปรับค่า pH อย่างทันทีทันใด เพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองสารเคมีโดยใช่เหตุ ดังนั้นจึงต้องเจือจางกรดซัลฟิวริก 50% ให้มีความเข้มข้นลดลง โดยการใช้กรดซัลฟิวริกความเข้มข้นต่ำ ที่ได้จากการเปลี่ยนไอออน นำมาผสมกับกรดซัลฟิวริก 50% แล้วจึงนำไปใช้ปรับค่า pH ในการเดินเครื่องแลกเปลี่ยนไอออนในแต่ละครั้ง เมื่อเครื่องแลกเปลี่ยนไอออนไม่สามารถแลกเปลี่ยนประจุได้อีก ต้องฟื้นฟูสภาพเรซิน เพื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปไฮโดรเจนไอออน โดยการใช้กรดเกลือไหลผ่านและสัมผัสเม็ดเรซิน สำหรับน้ำทิ้งที่ผ่านเรซินออกมาแล้วนั้น ก็จะส่งเข้าระบบบำบัดน้ำเสียต่อไป | en |
dc.description.abstractalternative | The sulfuric recovery from wastewater by ion exchange is another way for selected to solving the problems of chemical for reducing the costs to saving. And the otherwise is to using the unused ion-exchanger unit to good performance. By using with the wastewater treatment plant. The feasibility study of the wastewater has been contained a large ion of sulfate are through the cat ion resin. Furthermore in the after treated waste were contained a large of others of cat-ion. When the after treated water flowing into cat-ion resin that. The cat-ion resin will adsorb a large of the others of cat-ion and they will be discharged hydrogen ion to exchanged. As hydrogen ion catching with the sulfate ion performed to the sulfuric acid as low concentration. And because of the wastewater treatment plant has been used sulfuric acid 50% concentration and dose not appropriated to be using for neutralization the pH suddenly. For this reasons its is not matter to expenses. Thus should be dilution the high concentration of sulfuric acid 50% to low by used the sulfuric acid which produced from ion-exchanger and mixing with the sulfuric acid 50% then can be using to good neutralization. In a cycle of ion-exchanger. The ion-exchange resin can not be exchanged and then should be regeneration the resin for recover to formed of hydrogen ion by using the low concentrate of hydrochloric acid flowing through the resin, Wastewater inlet to wastewater treatment plant. | en |
dc.format.extent | 10000707 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กรดกำมะถัน | en |
dc.subject | การแลกเปลี่ยนไอออน | en |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด | en |
dc.subject | เรซินแลกเปลี่ยนไอออน | en |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด -- การแลกเปลี่ยนไอออน | en |
dc.title | การนำกรดซัลฟิวริกกลับมาใช้จากน้ำทิ้งโดยกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน | en |
dc.title.alternative | Sulfuric acid recovery from wastewater by ion-exchange | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเคมี | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Ura.P@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kruawan.pdf | 9.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.