Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลน้อย ตรีรัตน์-
dc.contributor.authorสินชัย วังทรัพย์ดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-11T02:43:19Z-
dc.date.available2009-06-11T02:43:19Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9030-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาและพัฒนาเพิ่มเติมแบบจำลองวัฏจักรเศรษฐกิจ โดยเพิ่มการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศและการถ่ายทอดเทคโนโลยีเข้ามาในแบบจำลองวัฏจักรเศรษฐกิจแบบดั้งเดิมสมการของระบบเศรษฐกิจจะประกอบไปด้วย สมการอธิบายพฤติกรรมผู้บริโภคของทั้งสองประเทศ โดยกำหนดให้มีอรรถประโยชน์สุดภายใต้ข้อจำกัดของระบบเศรษฐกิจคือ สมการการผลิตของทั้งสองประเทศ สมการสะสมทุนของโลกและสมการอื่นๆ ภายใต้สภาวะที่กำหนด จากนั้นจึงได้แก้ระบบสมการหาจุดสูงสุดของระบบเศรษฐกิจ เมื่อได้แบบจำลองที่แสดงถึงดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจในระยะยาวแล้ว จึงทำการทดสอบเชิงประจักษ์เพื่อทดสอบแบบจำลอง โดยการประมาณค่าสมการต่างๆ โดยในงานนี้ ได้เลือกวิธีประมาณค่าโดยใช้ระบบสมการเส้นตรง แม้ว่าการศึกษาในแนวทางของแบบจำลองวัฏจักรเศรษฐกิจ จะเน้นเพียงการออกแบบจำลอง แต่ผลการทดสอบเชิงประจักษ์ด้วยข้อมูลรายไตรมาสของประเทศไทยและประเทศสหรัฐอเมริกา ช่วงระหว่างไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2536 ถึงไตรมาสสุดท้ายของปี พ.ศ. 2542 พบว่า ผลกระทบจากความผันผวนของทุนและเทคโนโลยีของประเทศไทยเองอย่างมีนัยสำคัญ โดยเทคโนโลยีของประเทศไทยส่งผ่านไปสู่เทคโนโลยีของประเทศไทยเองในเวลาถัดมาที่ 0.029 แต่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีของประเทศสหรัฐอเมริกาที่ 0.877en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to develop the real business cycle model by including a foreign sector and some important exogenous variables. The model, therefore, aims to maximize utility function of both countries subject to some constraints, such as producers' behavior in both countries (production function). The model is estimated with VAR and OLS techniques. For simplicity. the equations are linearlized. Although the study only established the model, the result of an empirical test, with quarterly data of Thailand and the United States of America between the first quarter of 1993 and the fourth quarter of 1999, found that United States of America's capital and technology changes affected significantly Thailand's real sectors more than Thailand's capital and technology changes. For example, Thailand's technology split over to its next period at 0.029. While United States of America's technology split over to Thailand's and 0.877.en
dc.format.extent1565185 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.402-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแบบจำลองทางเศรษฐมิติen
dc.subjectวัฏจักรธุรกิจen
dc.titleแบบจำลองวัฏจักรเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ศึกษากรณี ผลจากระดับเทคโนโลยีและกำลังทุนen
dc.title.alternativeInternational real business cyclemodel : a case study of technology and capital shocksen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNualnoi.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.402-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sinchai.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.