Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9103
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุพิน อังสุโรจน์-
dc.contributor.authorบุษบา ประสารอธิคม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-24T01:18:46Z-
dc.date.available2009-06-24T01:18:46Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741305982-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9103-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์ สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความเชื่อมั่นในตนเองกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และศึกษาปัจจัยที่เป็นตัวทำนายประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 331 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามการปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์ สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความเชื่อมั่นในตนเอง และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย มีค่าความเที่ยง .90 .91 .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เพียร์สัน และสมการการถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์ สภาพแวดล้อมในการทำงาน และความเชื่อมั่นในตนเอง มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .474 .684 และ .616 ตามลำดับ) 2. ตัวแปรที่ร่วมทำนายประสิทธิผลของหอผู้ป่วยไดอ้ย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความเชื่อมั่นในตนเอง และการปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์ มีความแปรปรวนร่วมกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยได้ร้อยละ 56.2 (R2 = .562) ได้สมการทำนายในรูปคะแนนมาตรฐานดังนี้ ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย = .465 (สภาพแวดล้อมในการทำงาน) + .299 (ความเชื่อมั่นในตนเอง) + .126 (การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์)en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the relationships between collaborative with physician, working environment, self-confidence, and effectiveness of patient units as perceived by professional nurses in hospitals participating in Quality Improvement and Accreditation Project, Ministry of Public Health. The subjects of this study were 331 professional nurses in the hospitals in Hospital Quality Improvement and Accreditation Project. The research instruments were the questionnaire for professional nurses, consisted of collaborative with physician questionnaire, working environment questionnaire, self-confidence questionnaire and effectiveness of patient units questionnaire. The reliability of four questionnaires were .90 .91 .91 and .93 respectively. The data were analyzed by using Pearson's product moment correlation and stepwise multiple regression analysis. The major findings were as follows: 1. There were significant relationships between collaborative with physician, working environment and self-confidence with effectiveness of patient units at .05 level. 2. Variables which significantly predicted effectiveness of patient units were working environment, self-confidence and collaborative with physician (P<.05). The predictors accounted for 56.2 percent of the variance (R2 = .562). The standardized score equation from the analysis was as follow: Effectiveness of Patient Units = .465 (Working Environment) = .299 (Self-Confidence) + .126 (Collaborative with Physician).en
dc.format.extent10045119 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความเชื่อมั่นในตัวเองen
dc.subjectการพยาบาลen
dc.subjectพยาบาลen
dc.subjectแพทย์en
dc.subjectการทำงานเป็นทีมen
dc.subjectประสิทธิผลองค์การen
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงานen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์ สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความเชื่อมั่นในตนเองกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล กระทรวงสาธารณสุขen
dc.title.alternativeRelationships between collaborative with physician, working environment, self-confidence, and effectiveness of patient units as perceived by professional nurses in hospitals participating in Quality Improvement and Accreditation Project,Ministry of Public Healthen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisoryupin.a@chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bussaba.pdf9.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.