Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9104
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตต์นิภา ศรีไสย์-
dc.contributor.advisorสุวัฒนา อุทัยรัตน์-
dc.contributor.authorอรนุช เอี่ยมธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-24T01:24:59Z-
dc.date.available2009-06-24T01:24:59Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741309651-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9104-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาความสามารถทางการเขียนความเรียงภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนวิธีการวินิจฉัยและแก้ไขงานเขียนความเรียงที่ไม่ชัดเจน 2. เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการได้รับการสอนวิธีการวินิจฉัยและแก้ไขงานเขียนความเรียงที่ไม่ชัดเจน ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร จำนวน 39 คน ปีการศึกษา 2543 ผู้วิจัยดำเนินการสอนด้วยตนเอง ใช้เวลาในการสอน 2 คาบต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบวัดความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทยซึ่งมีแบบสอบปรนัยและอัตนัย ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าคะแนนเฉลี่ย (X bar) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่ามัชฌิมเลขคณิตคิดเป็นร้อยละ (X bar ร้อยละ) และทดสอบความแตกต่างของคะแนนค่ามัชฌิมเลขคณิต โดยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนโดยวิธีการวินิจฉัยและแก้ไขงานเขียนความเรียงที่ไม่ชัดเจนมีความสามารถทางการเขียนความเรียงภาษาไทยผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนแบบสอบทั้งฉบับได้คะแนนความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทยร้อยละ 70.90 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนโดยวิธีการวินิจฉัยและแก้ไขงานเขียนความเรียงที่ไม่ชัดเจนมีความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทยหลังการสอนสูงกว่าก่อนการมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1. to study the expository writing ability of mathayom suksa four students taught by diagnosing and correcting unclear passages. 2. to compare the Thai expository writing ability of mathayom suksa four students before and after being taught by diagnosing and correcting unclear passage. The samples were 39 mathayom suksa four students, Rattanakosinsomposhbangkhuntheian School under the jurisdiction of the Dapartment of General Education, Bangkok Metropolis in the academic year of 2000. The researcher taught the samples for eight weeks two periods per week. The research instrument was the Thai expository writing ability test. The data were analyzed by arithmetic mean, standard deviation, percentage of arithmetic mean and t-test. The results of this research were as follows: 1. The mathayom suksa four students taught by diagnosing and correcting unclear passages had Thai expository writing ability passing the criteria 70 percent with the score of 70.90 percent. 2. The mathayom suksa four students taught by diagnosing and correcting unclear passages had Thai expository writing scores after learning higher than that before learning at the 0.05 level of significance.en
dc.format.extent1271345 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษาแบบวินิจฉัยen
dc.subjectการแต่งร้อยแก้ว -- ความเรียงen
dc.subjectการเขียนen
dc.titleผลการสอนวิธีการวินิจฉัยและแก้ไขงานเขียนความเรียงที่ไมชัดเจนที่มีต่อความสามารถในการเขียนความเรียงภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4en
dc.title.alternativeEffects of teaching diagnosing and correcting unclear passages on Thai expository writing ability of mathayom suksa four studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสอนภาษาไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorSuwattana.U@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
OranuchA.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.