Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9131
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประเสริฐ อัครประถมพงศ์-
dc.contributor.authorพงศธร คุ้มชนะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-29T03:42:56Z-
dc.date.available2009-06-29T03:42:56Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741306342-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9131-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองต่อความต้องการและความพึงพอใจของลูกค้าอย่างต่อเนื่องรวมถึง การลดต้นทุนผลิตภัณฑ์ โดยใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่การทำงานเชิงคุณภาพ (QFD) ในการสำรวจความคิดเห็นของลูกค้าโดยการออกแบบสอบถาม จากการสำรวจพบว่า ปัจจัยที่ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าในการตัดสินใจซื้อรถในส่วนของผลิตภัณฑ์ มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 2 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ปัจจัยด้านรูปลักษณ์ และปัจจัยด้านสมรรถนะของรถ หลักจากนั้นได้ทำการจัดลำดับความสำคัญ ประเมินผลเปรียบเทียบกับคู่แข่ง แปลงเป็นกิจกรรมดำเนินงานในเชิงผลิตภัณฑ์ ได้แก่ การออกแบบพัฒนาชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์และการจัดหาชิ้นส่วนภายในประเทศ กำหนดเป้าหมาย พิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุง นำวิธีการทั้งหมดมาประกอบกันอยู่ในรูปเมตริกซ์ ในการศึกษาการออกแบบพัฒนาชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ ได้นำ DFMEA มาใช้ในการวิเคราะห์ข้อบกพร่องผลกระทบของข้อบกพร่อง กำหนดมาตรการในการควบคุม และคำนวณค่า RPN ในแต่ละชิ้นงานก่อนการปรับปรุง หลังจากนั้นจึงเสนอมาตรการในการแก้ไข คำนวณค่า RPN หลังการปรับปรุงพิจารณาเปรียบเทียบกับชิ้นงานก่อนการปรับปรุง ปรากฏว่าค่า RPN ที่คำนวณได้มีคะแนนต่ำกว่า 100 นั่นคือสามารถลดโอกาสในการเกิดข้อบกพร่องลงและได้ชิ้นงานที่ตอบสนองต่อความต้องการ การจัดหาชิ้นส่วนพบว่าจากการจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อลดต้นทุนชิ้นส่วน สามารถลดต้นทุนลงได้ 21,450,744 บาทต่อปี ผลที่ได้จากากรวิจัยนี้ พบว่าการออกแบบพัฒนาชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์และการจัดหาชิ้นส่วนภายในประเทศเป็นตัวชี้วัดความพึงพอใจของลูกค้าเปรียบเทียบก่อนการปรับปรุงและหลังการปรับปรุง จากการประเมินผลภาพรวมของระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์รถยานยนต์เสรีเอนกประสงค์ พบว่า ค่าเฉลี่ยของทุกปัจจัยตกอยู่ในช่วงคะแนนระหว่าง 3.79 ถึง 4.39 นั่นคือ มีระดับความพึงพอใจดีถึงดีมาก ผลการประเมินนี้เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับผลที่ได้จากการประเมินผลแต่ละชิ้นงานที่ได้ทำการออกแบบพัฒนาชิ้นส่วนที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จึงสามารถสรุปได้ว่า การพัฒนาผลิตภัณฑ์รถยนต์นั่งเสรีเอนกประสงค์ ทั้งในส่วนการออกแบบพัฒนาชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์และในส่วนการจัดทำการลดต้นทุนสามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า อันจะนำไปสู่ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ได้en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is for effective product development to be in line with customer requirement and at the same time with cost reduction by using QFD technique as the tools. In the recent customer satisfaction survey, the result shows that there are 2 main factors : Appearance and Performance which play a major role at the time when customer makes vehicle purchasing decision. Then, all these factors are ranked in sequence of importance, evaluated in comparing with competitors, adopt as concerned technical activities to effect purchasing criterion which are part development and local parts procurement and set up development target and finally concluded in matrix form. Parts development by using DFMEA to analyse parts defect and its impact in order to set up the controlling strategy, calculate RPN value before development, specify suggestion and calculate RPN value after development again. When considering RPN value comparing between that of before and after development, the result shows that the RPN value is less than 100 score which means the possibility of parts defect is lesser and the parts are better meeting the user's requirement, reduce the cost of local parts procurement by applying Value Engineering in parts analysing and the result is 21,450,744 Baht/year cost down. The result of the evaluation find that parts development and local parts procurement is the indicator of customer satisfaction comparing before and after development. The score of satisfaction towards SUV is between 3.79 to 4.39 which means the result is good up to excellent which is in line with parts development impact to product development evaluation. Thus, it can be concluded that SUV which make parts development and cost down can respond the customer's requirement which finally leads to customer satisfaction towards product.en
dc.format.extent6216111 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการกระจายการทำงานเชิงคุณภาพen
dc.subjectการควบคุมต้นทุนการผลิตen
dc.subjectการจัดการผลิตภัณฑ์en
dc.subjectรถยนต์en
dc.titleการพัฒนาผลิตภัณฑ์รถยนต์นั่งขับเคลื่อน 4 ล้อ : กรณีศึกษายานยนต์เสรีเอนกประสงค์en
dc.title.alternativeProduct development of A 4 whell drive vehicle : a case study of a sport utility vehicle modelen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPrasert.A@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pongsatorn.pdf6.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.