Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9205
Title: ประสิทธิภาพการบำบัดแอมโมเนียไนโตรเจนโดยโซเดียมไนไตรท์ในระบบเอเอสบีอาร์
Other Titles: Efficiency of ammonia nitrogen treatment by sodium nitrite in anaerobic sequencing batch reactor system
Authors: น้ำเงิน จันทรมณี
Advisors: ชาญวิทย์ โฆษิตานนท์
สมชาย ดารารัตน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Charnwit@sc.chula.ac.th
somchai_d@tistr.or.th
Subjects: น้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพ
น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดไนโตรเจน
Issue Date: 2549
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของระบบไม่ใช้ออกซิเจนและลักษณะทางกายภาพของเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดแอมโมเนียไนโตรเจนในน้ำเสีย ในแบบจำลองของระบบเอเอสบีอาร์ (anaerobic sequencing batch reactor; ASBR) ที่มีขนาดปริมาตรทำปฏิกิริยา 24 ลิตร ความเข้มข้นของจุลินทรีย์ในถังปฏิกิริยา 20,000 มิลลิกรัมต่อลิตร กวนด้วยความเร็วรอบ 50 รอบต่อนาที ที่ภาระทุกสารอินทรีย์ในรูปของแอมโมเนียไนโตรเจน 0.027 0.039 และ 0.053 กรัม แอมโมเนียไนโตรเจน/ลิตร-วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการบำบัดแอมโมเนียไนโตรเจน ได้มากกว่าร้อยละ 50 และสูงสุดร้อยละ 70 ที่ภาระบรรทุกสารอินทรีย์ในรูปของแอมโมเนียไนโตรเจน 0.053 กรัม แอมโมเนียไนโตรเจน/ลิตร-วัน และสามารถบำบัดไนไตรท์ได้มากกว่าร้อยละ 99 ในทุกภาระบรรทุกสารอินทรีย์ นอกจากนี้ระบบเอเอสบีอาร์สามารถบำบัดสารอินทรีย์ในรูปของซีโอดีได้มากกว่าร้อยละ 80 หลังการบำบัดเม็ดตะกอนจุลินทรีย์มีสีดำเข้มขึ้น ลักษณะเม็ดจะแน่นมากกว่าเม็ดตะกอนก่อนการบำบัด และ มีค่าสัดส่วนของของแข็งแขวนลอยระเหยต่อของแข็งแขวนลอยของเม็ดตะกอนจุลินทรีย์เท่ากับ 0.86
Other Abstract: This research is focus on anaerobic ammonia nitrogen treatment efficiency and physical characteristic of microbial sludge beads by using a model of anaerobic sequencing batch reactor (ASBR) with 24 liters working volume, 20,000 mg/l ML VSS and 50 rounds/min stirring. At organic loading rate of 0.027, 0.039 and 0.053 gNH[subscript 4]-N/m[superscript 3]-d, more than 50% ammonia nitrogen was removed. The highest ammonia nitrogen removal of 70% was obtained at 0.053 gNH[subscript 4]-N/m[superscript 3]-d organic loading rate. More than 99% nitrite was treated at every tested condition. The chemical oxygen demand removal were better than 80%. Microbial sludge granules, after wastewater treatment, turned darker and denser. The ratio of MLVSS to MLSS of the granules was 0.86.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9205
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.637
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.637
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Namngern_Ch.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.