Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกวีไกร ศรีหิรัญ-
dc.contributor.advisorธิดาสิริ ภัทรากาญจน์-
dc.contributor.authorนัตฐพล ยิ้มรักญาติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-07-10T07:52:54Z-
dc.date.available2009-07-10T07:52:54Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741740034-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9208-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractปัจจุบันระบบงานสารสนเทศเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อการดำเนินงาน โดยเฉพาะข้อมูลต่างๆ ขององค์กรนับเป็นปัจจัยหลักในการดำเนินงานให้ประสบผลสำเร็จ และมีประสิทธิภาพ จากบทบาทของคอมพิวเตอร์ที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานแทบทุกสาขาอาชีพ ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลมีใช้กันอย่างแพร่หลาย และสามารถช่วยสนับสนุนการดำเนินงานภายในองค์กรได้เป็นอย่างดี สำหรับสำนักงานสถาปนิกในปัจจุบัน ได้เปลี่ยนไปใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบเป็นส่วนใหญ่ ปัญหาที่ตามมาคือข้อมูลที่ถูกจัดเก็บเพิ่มมากขึ้น ความไม่เป็นระบบในการจัดเก็บเอกสารรวมถึงจำนวนของเอกสารแบบก่อสร้างดิจิทัลที่มีจำนวนมากในแต่และโครงการ และตัวสถาปนิกเองก็ไม่สามารถจะจดจำได้ว่าในแต่ละเอกสารดิจิทัลนั้นได้บันทึกข้อมูลอะไรไว้ภายใน ปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาสำคัญอย่างยิ่ง ที่ทำให้เกิดความล่าช้าในกระบวนการทำงานในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการซ้ำซ้อนของเอกสาร, ปัญหาในการทำงานกับผู้ร่วมงานอื่น, ปัญหาในการสืบค้นเพื่อนำเอกสารแบบก่อสร้างเก่ามาพัฒนาเป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้เกิดจากกระบวนการจัดเก็บข้อมูลที่ยังขาดการพัฒนาให้อยู่ในรูปแบบการจัดเก็บที่เหมาะสมกับพฤติกรรมการเขียนแบบของสถาปนิกในประเทศไทย จะเห็นได้ว่ามีข้อมูลจำนวนมากมายในสำนักงานสถาปนิก สามารถนำมาพัฒนาและจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลเพื่อสืบค้น และนำมาใช้ได้อย่างรวดเร็วภายในองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการการสืบค้นแบบก่อสร้างที่อยู่ในรูปแบบสื่อดิจิทัลเพื่อนำกลับมาใช้งาน การพัฒนาระบบฐานข้อมูลดังกล่าวจะสามารถช่วยให้การดำเนินงานภายในสำนักงานสถาปนิกเกิดประสิทธิภาพ และมีมาตรฐานในการดำเนินงานมากยิ่งขึ้นen
dc.description.abstractalternativeNowadays, information technology plays an important role in operational procedures. The information of an organization is a key to success. The computer has become more and more important in every profession, it is widely used to store data which can be used to support the operation of an organization. As for an architect's studio, the computer is used mostly for drawing. However, problems arise because there is too much data including countless digital construction plans for each project to be kept; however, they are not systematically kept. In addition, the architect does not know what information is in the file. Such problems cause a delay in the operation, redundancy of information, conflicts with colleagues, and searching for stored construction plans to be further developed. These problems can be solved if the data is kept systematically in line with the way Thai architects work. With the application of computers, masses of information in the studio can be developed and recorded as a database for fast navigation and use. In particular, the data can be stored as digital files; as a result, the work in the studio can be done more effectively and up to standards.en
dc.format.extent8584937 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเขียนแบบสถาปัตยกรรม -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์en
dc.subjectระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศen
dc.titleโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการสืบค้นและจัดเก็บข้อมูลงานเขียนแบบในสำนักงานสถาปนิกen
dc.title.alternativeComputer aided application for fast navigating and effective recording for drawing file management in architect studioen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorskaweekr@chula.ac.th-
dc.email.advisorbtidasir@chula.ac.th-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattapon.pdf8.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.