Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9271
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัญชัย หมายมั่น-
dc.contributor.authorประเสริฐ จันทน์หอม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-07-21T04:59:50Z-
dc.date.available2009-07-21T04:59:50Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746376144-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9271-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractจากการศึกษาเรื่องวิวัฒนาการเจดีย์ประธานสมัยสุโขทัย พบว่ากระแสการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สังคม และศาสนา มีผลกระทบต่อรูปแบบของเจดีย์ โดยเฉพาะกระแสแนวคิดของการเผยแพร่ศาสนาในแต่ละยุค และหลักธรรมที่ชนชั้นปกครองมาเผยแพร่ในสังคม อันแสดงถึงความต้องการในเชิงศีลธรรมและคุณธรรมในแต่ละยุคสมัย ของสังคมชาวสุโขทัย มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบเจดีย์มาโดยตลอด พระสถูปเจดีย์ประธานสมัยสุโขทัยถูกสร้างขึ้นอย่างมีแบบแผน และมีระบบการใช้สัญลักษณ์แทนความหมายร่วมกันแทบทุกองค์ บนพื้นฐานของระบบแนวความคิดจักรวาลวิทยาแบบพุทธ ส่วนใหญ่มีต้นกำเนิดแนวคิดมาจากคัมภีร์อรรถกถาที่แต่งในลังกาและพุกาม คัมภีร์เหล่านี้ถูกเรียบเรียงขึ้นใหม่ให้เห็นภาพภพภูมิ และจักรวาลวิทยาในทรรศนะของชาวสุโขทัยใน "คัมภีร์ไตรภูมิพระร่วง" ที่เรียบเรียงขึ้นโดยพระมหาธรรมราชาลิไทย พระสถูปเจดีย์สมัยสุโขทัยเป็นภาพจำลองของจักรวาลวิทยา ในทรรศนะของชาวสุโขทัย ด้วยกลวิธีทางสถาปัตยกรรม ผ่านระเบียบแนวความคิด ระบบสัญลักษณ์และแบบแผนพิธีกรรม เพื่อปลูกจิตสำนึกรู้ทางปัญญาของผู้พบเห็นให้ระลึกถึงคำสอน หรือหลักธรรมที่เป็นรากฐานและเป็นที่นิยมของสังคม หลักธรรมเหล่านี้ถูกนำเสนอผ่านตำนาน, ความเชื่อ, ปาฏิหาริย์ ซึ่งรวมกันอยู่บนแนวคิดเรื่องจักรวาลวิทยา คติความเชื่อเรื่องจักรวาลวิทยาทั้งหมด ได้ถูกสรุปให้เห็นเป็นรูปธรรมเชิงประจักษ์อย่างย่นย่ออยู่บนผัง และรูปด้านของพระสถูปเจดีย์ประธาน พระสถูปเจดีย์ประธานอาจถูกเปรียบเทียบเป็นตัวแทนของพระพุทธองค์ หรือสัญลักษณ์แทนศูนย์กลางจักรวาลในสมัยสุโขทัย เพราะมีพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าบรรจุอยู่ภายใน อาจกล่าวได้ว่า ผู้ใดเห็นธรรมผู้นั้นเห็นองค์พุทธะและเห็นองค์เจดีย์ประธาน แนวคิดเรื่องจักรวาลวิทยานั้น เป็นพื้นฐานของระบบความคิดของพุทธศาสนา และเป็นแก่นความคิดของพระพุทธศาสนาในบริบทสังคมชาวสุโขทัยสมัยนั้น เพื่อต้องการแสดงถึงความเป็นอนัตตาของจักรวาล และสรรพสิ่ง โดยระบบกลไกของจักรวาลและสรรพสิ่งนั้น อยู่ภายใต้แก่นคำสอนเรื่องอนัตตาตามหลักธาตุ อายตนะ ปฏิจจสมุปบาท และฐานะอฐานะ เหล่านี้เป็นแก่นสำคัญในการอธิบายความหมายและความเป็นไปของจักรวาล ระบบจักรวาลและสรรพสิ่งในทุกแง่ทุกมุมen
dc.description.abstractalternativeIt is found from the study of "The Evolution of Chedi Architecture in Sukhothai Period" that the political change or society and religion play an affected role on the Chedi style. Especially the concept of the spread of Buddhism in each reign and the essence of Buddhism that the aristocrat had propagated to society. It exhibited the desire of moral code and morality of society. Almost every principal Chedi in the Sukhothai period was built in accordance with traditions and the co-use of symbols that were based on the system of concept of Sukhothai Buddhist cosmology. All of the concepts were rooted in the Buddhist literatures that were written in Sri langka and Bukam (in the present Myanma). The entire Buddhist literatures were rewritten to show Buddhist cosmology within Sukhothai people's perspectives named "Tai bumikatha". King Lithai once again rewrote Tai bumikatha. So the principal chedis in Sukhothai period were used as a model of Buddhist cosmology in Sukhothai people's perspective. The cosmology was concluded though the concept of system of Buddhist cosmology symbolic and ritual traditions to build consciousness of wisdom so that people could recognize the Buddhist description and Dhamma which were the foundation of society in that time. Dhamma and the Buddhist essence was taught through legends, Beliefs and miracle stories. Their essence in abstract was transformed become the Buddhist cosmology, and the Buddhist cosmology transform become the symbolic system of Buddhist cosmology. This was used on the Sukhothai principle Chedi, By Sukhothai architectural techniques. The Sukhothai principal Chedis may have been compared with teh Buddha image or symbol of the center of the universe because the Buddha relic was kept inside the Chedis. It can be said "Whoever could see the Dhamma could also see the Buddha and the principal chedis". The concept of Buddhist cosmology was the foundation of thoughts and core concept reflected the important essence of Buddhist in that time. All of these essences can explain the meaning and the nature of the universe in every aspect.en
dc.format.extent1238332 bytes-
dc.format.extent585715 bytes-
dc.format.extent2580032 bytes-
dc.format.extent1634439 bytes-
dc.format.extent2044353 bytes-
dc.format.extent1597455 bytes-
dc.format.extent835837 bytes-
dc.format.extent4883883 bytes-
dc.format.extent9618411 bytes-
dc.format.extent4050316 bytes-
dc.format.extent558810 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเจดีย์ -- ไทยen
dc.subjectสถูป -- ไทยen
dc.subjectสถาปัตยกรรมพุทธศาสนา -- ไทยen
dc.subjectไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงสุโขทัย -- 1800-1900en
dc.titleวิวัฒนาการสถาปัตยกรรมเจดีย์ในสมัยสุโขทัยen
dc.title.alternativeThe evolution of Chedi architecture in Sukhothai Perioden
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSanchai.M@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prasert_Ch_front.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_ch1.pdf571.99 kBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_ch2.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_ch3.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_ch4.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_ch5.pdf1.56 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_ch6.pdf816.25 kBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_ch7.pdf4.77 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_ch8.pdf9.39 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_ch9.pdf3.96 MBAdobe PDFView/Open
Prasert_Ch_back.pdf545.71 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.