Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9278
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศา พรชัยวิเศษกุล-
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ไกรศรีบัณฑิต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-07-21T09:53:41Z-
dc.date.available2009-07-21T09:53:41Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746372211-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9278-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractทดสอบผลกระทบของความเสี่ยงในระบบการเงินจากความผันผวน ในอัตราการเติบโตของปริมาณเงินและจากอัตราดอกเบี้ย ที่มีต่ออัตราการเติบโตของผลผลิตและระดับราคา โดยแบ่งการทดสอบผลกระทบออกเป็น 2 ช่วง คือ การทดสอบในช่วงก่อนเปิดเสรีและหลังเปิดเสรีการเงินในประเทศไทย ด้วยการประมาณค่าด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Square) กับแบบจำลองพหุนาม (Polynomial Distributed Lag Model) ผลการศึกษา พบว่า ในช่วงก่อนเปิดเสรีการเงิน ซึ่งเป็นช่วงที่ทางการยังใช้มาตรการควบคุมทางการเงินโดยตรงได้อย่างเต็มที่นั้น ทำให้ระบบการเงินค่อนข้างจะมีเสถียรภาพ และระดับความผันผวนมีอยู่ในระดับต่ำ ดังนั้นผลการทดสอบในช่วงนี้จึงพบว่า ความเสี่ยงจากความผันผวนในอัตราการเติบโตของปริมาณเงิน และอัตราดอกเบี้ยไม่มีอิทธิพลต่อการลดอัตราการเติบโตของผลผลิต และเสถียรภาพของระดับราคา ส่วนในช่วงหลังเปิดเสรีการเงิน พบว่า ระดับความผันผวนมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับช่วงก่อนเปิดเสรีการเงิน และในการทดสอบผลกระทบอัตราการเติบโตของผลผลิต พบว่า ความผันผวนในอัตราการเติบโตของปริมาณเงินมีผลต่อการลดลงของผลผลิต ในลักษณะชั่วคราวเท่านั้น ส่วนผลกระทบจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย มีอิทธิผลต่อการลดอัตราการเติบโตของผลผลิตในระยะยาว ในการทดสอบผลกระทบต่อระดับราคา พบว่า ทั้งความผันผวนจากปริมาณเงินและอัตราดอกเบี้ย มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของระดับราคา แต่ความผันผวนในปริมาณเงิน มีนัยสำคัญทางสถิติสูงกว่าผลของอัตราดอกเบี้ย สำหรับเจ้าหน้าที่ทางการเงิน การดำเนินนโยบายการเงินในช่วงหลังเปิดเสรีการเงิน จะมีความยากลำบากและซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ตามเงื่อนไขของการเปิดเสรีการเงิน และจากผลการศึกษาก็พบว่า กลไกที่เป็นเป้าหมายขั้นกลาง สามารถส่งผลกระทบทางการเงินไปยังเป้าหมายที่สำคัญทางเศรษฐกิจ ในลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนั้นการดำเนินนโยบายการเงินในสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ทางการอาจใช้การพิจารณาเลือกเป้าหมายของนโยบายการเงิน ให้เหมาะสมกับลำดับความสำคัญของเป้าหมายทางเศรษฐกิจในขณะนั้น เช่น การรักษาเสถียรภาพในอัตราการเติบโตของปริมาณเงิน จะมีประสิทธิภาพในการควบคุมเสถียรภาพของระดับราคา ในขณะที่การรักษาเสถียรภาพความเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย จะมีประสิทธิภาพในการรักษาอัตราการเติบโตผลผลิตในระยายาว เป็นต้น และควรดำเนินนโยบายการเงินในลักษณะที่เป็นกฎเกณฑ์ เพื่อลดความผันผวนจากการแทรกแซงen
dc.description.abstractalternativeTo analyse the impact of volatility in monetary growth and interest rate on economic performance, namely, output and price. Polynomial Distributed Lag model were estimated for the periods before and after financial liberlization. The study results can be summerized as follow. Before the financial liberlization, the monetary system is rather stable and volatility is low. The statistical evidence has show that volatility in monetary growth and interest rate has no influence on the output growth and price stability. After the financial liberlization, the volatility increased about 30 percent. In addition, impact of volatility in monetary growth on output is only temporary effect. The volatility of interest rates has significant long-term effects on output growth. Although volatility of both monetary growth and interest rate adversely effect the price stability. Only the monetary growth is confidence significant. Monetary policy-makers have to face with more complicated after the financial liberlization. It can be stated that choice of intermediate targets to reach the economic goals depend on the piority of economic goals. Controlling the monetary growth is more effective in stabilizing the price level. Controlling interest rate will be more effective in stabilizing long term output growth. In order to reduce the effect of unanticipated. Policy rule in monetary management is recommended.en
dc.format.extent467938 bytes-
dc.format.extent354508 bytes-
dc.format.extent1739090 bytes-
dc.format.extent1526045 bytes-
dc.format.extent1983623 bytes-
dc.format.extent660468 bytes-
dc.format.extent342854 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนโยบายการเงิน -- ไทยen
dc.subjectการเงิน -- ไทยen
dc.subjectดอกเบี้ยen
dc.subjectราคาen
dc.titleผลกระทบของความผันผวนในอัตราการเจริญเติบโตของปริมาณเงิน และอัตราดอกเบี้ยต่อระดับผลผลิตและราคาในประเทศไทยen
dc.title.alternativeImpact of volatility in monetary growth and interest rate on economic output and price in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPongsa.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsak_Ka_front.pdf456.97 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_Ka_ch1.pdf346.2 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_Ka_ch2.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_Ka_ch3.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_Ka_ch4.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_Ka_ch5.pdf644.99 kBAdobe PDFView/Open
Somsak_Ka_back.pdf334.82 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.