Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/929
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงกมล ชาติประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-21T11:39:21Z | - |
dc.date.available | 2006-07-21T11:39:21Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741730411 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/929 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเสพติดอินเทอร์เน็ต ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้สื่อ การประเมินความสัมพันธ์ของตนเองกับอินเทอร์เน็ต ตัวแปรลักษณะทางประชากรศาสตร์ ปัญหาทางด้านจิตวิทยาและปัญหาความสัมพันธ์ทางสังคม ระหว่างผู้ที่เสพติด 217 คน และไม่เสพติดอินเทอร์เน็ต 697 คน จากการศึกษาพบว่า ผู้ที่เสพติดอินเทอร์เน็ตจะใช้เวลาในอินเทอร์เน็ตสูงกว่าผู้ที่ไม่เสพติด ผู้ที่เสพติดจะมีการใช้บริการและประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต เพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านอารมณ์ สังคมและจิตใจสูงกว่า แต่จะใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการแสวงหาข้อมูลข่าวสารน้อยกว่าผู้ที่ไม่เสพติด ในส่วนของการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสื่อนั้น ผู้ที่เสพติดจะประเมินว่าตนเองมีความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ต รู้สึกถูกดึงดูดใจจากสื่ออินเทอร์เน็ต ได้รับผลกระทบจากการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตสูงกว่าผู้ที่ไม่เสพติดเช่นเดียวกัน และผู้ที่เสพติดจะตระหนักรู้ถึงภาวะการเสพติด แต่ไม่สามารถลดหรือหยุดใช้ได้ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าปัจจัยทางจิตวิทยานั้นเป็นสาเหตุสำคัญ ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมการเสพติด เมื่อเปรียบเทียบระหว่างผู้ที่เสพติดและไม่เสพติด พบว่าผู้ที่เสพติดนั้นจะประสบกับปัญหาทางจิตใจ ปัญหาความสัมพันธ์ทางสังคม และมีแนวโน้มที่จะเสพติดสิ่งอื่นๆ มาก่อนมากกว่าผู้ที่ไม่เสพติด เมื่อพิจารณาในเรื่องปัจจัยทางประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการเสพติดก็พบว่า ลักษณะทางอายุ ระดับการศึกษาและอาชีพนั้น จะมีความสัมพันธ์กับการเสพติดอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ปัจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร์นั้น จะส่งผลให้ผู้เสพติดและไม่เสพติดมีความแตกต่างกัน ในเรื่องการใช้อินเทอร์เน็ต และการประเมินตนเองกับสื่ออินเทอร์เน็ตด้วย โดยผู้วิจัยได้ทำการอภิปรายผลการวิจัย และเสนอข้อแนะนำสำหรับงานวิจัยต่อไป | en |
dc.description.abstractalternative | To study internet addicting behavior and factors relating to internet addictions of users in Thailand. The study compared the internet usage, the perceived relationship of self and internet, the demographic variables, the psychological problems and the social relation problems of 217 internet addicted users with those of 697 non-addicted users. Results indicate that the addicted internet users spend more time on the Internet than the non-addicted users. They use the internet to serve psychological and social needs more than the non-addicted users but use the internet less for information seeking. The addicted users rate their internet skills, the extent to which they are attracted by the internet and the effects of the internet higher than the non addicted users. The addicted users are aware of the fact that they are addicted to the internet, its effects but cannot reduce their usage. Results also indicate that psychological factors are primary causes of internet addiction. Compared to the non-addicted users, the addicted users have more psychological problems, social relation problems and tend to be more addicted to other things. Among demographics factors, age, educational level and occupation are found to relate to internet addiction. Also, demographic factors relate to internet usage and the assessment of self and the internet differently in the addicted and the non-addicted group. The researcher discussed the results and offers suggestions for further studies. | en |
dc.format.extent | 1151851 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.490 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โรคติดอินเตอร์เน็ต | en |
dc.subject | อินเตอร์เน็ต | en |
dc.title | พฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเสพติดอินเทอร์เน็ต ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Internet addicting behavior and factors related to internet addiction | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วารสารสนเทศ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Duangkamol.C@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2002.490 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thanikarn.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.