Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9307
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปทีป เมธาคุณวุฒิ-
dc.contributor.advisorธิดารัตน์ บุญนุช-
dc.contributor.authorอุษณีย์ เทพวรชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-07-23T07:20:44Z-
dc.date.available2009-07-23T07:20:44Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743333711-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9307-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเชิงรุกทางการศึกษาพยาบาล ในระดับปริญญาตรี และเปรียบเทียบผลการสอนนักศึกษา ระหว่างกลุ่มที่สอนตามรูปแบบการเรียนการสอนเชิงรุก ทางการศึกษาพยาบาลในระดับปริญญาตรี กับกลุ่มที่สอนตามปกติ ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และสรุปเหตุผล ด้านความภาคภูมิใจในตนเอง และความสามารถด้านการติดต่อสื่อสารในทีม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ปีที่ 1 จำนวน 114 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง 57 คน และกลุ่มควบคุม 57 คน โดยแบ่งตามคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPA) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งผู้วิจัยสร้างเอง แบบทดสอบความสามารถในการคิด ซึ่งพัฒนาโดยศูนย์ทดสอบการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร แบบประเมินความภาคภูมิใจในตนเอง โดยใช้เครื่องมือ Culture-Free Self Esteem Inventories ของ James Battle (1992) และแบบประเมินความสามารถด้านการติดต่อสื่อสารในทีม โดยใช้เครื่องมือ Team Communication ของ Rollin Glaser (1983) ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียนการสอนเชิงรุกทางการศึกษาพยาบาลในระดับปริญญาตรี มีโครงสร้าง ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ส่วน คือ แนวคิดการจัดการเรียนการสอนเชิงรุก วิธีสอนตามแนวคิดเชิงรุก กระบวนการเรียนการสอนเชิงรุก และการประเมินผลการเรียนการสอนเชิงรุก 2. นักศึกษาที่สอนตามรูปแบบการเรียนการสอนเชิงรุกทางการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีคะแนนเฉลี่ยแตกต่างกับนักศึกษาที่สอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์และสรุปเหตุผล ด้านความภาคภูมิใจในตนเอง และความสามารถด้านการติดต่อสื่อสารในทีม แต่ไม่แตกต่างกันในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. ภายหลังการสอน 8 สัปดาห์ นักศึกษาที่สอนตามรูปแบบการเรียนการสอนเชิงรุก ทางการศึกษาพยาบาลในระดับปริญญาตรี มีคะแนนเฉลี่ยหลังสอนแตกต่างกับก่อนสอนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์และสรุปเหตุผล ด้านความภาคภูมิใจในตนเอง และความสามารถด้านการติดต่อสื่อสารในทีม 4. ในการทำงานเป็นทีม นักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม แสดงบทบาทในลักษณะ เน้นการสนับสนุนกลุ่มมากกว่าการเน้นงานen
dc.description.abstractalternativeTo develop the active learning instructional model in nursing education at the undergraduate level and to compare the results of teaching between an active learning instructional model and a traditional method. The comparisons were student achievement, analytical thinking, self-esteem and team communication. A sample group of 114 freshmen nursing student was separated into an experimental group of 57 students and a control group of an equal number by using the Grade Point Average system. Major result of this study : 1. The active learning instructional model in nursing education at the undergraduate level resulted in active learning instructional concepts, active learning instructional methods, active learning instructional procedures, and active learning instructional assessment 2. The average score of the experimental group and that of the control group showed the statistical differential to be at a .05 level of significance in the students abiligy for analytical thinking, self-estem and team communication but there was no statistical difference in the achievement aspect of the two groups. 3. After 8 weeks of teaching in all the test phases, that is, achievement, analytical thinking, self-esteem and team communication, the experimental group of students showed an average score statstical differential to be at a .05 level of significance compare to the average score prior to being taught in all the test phases. 4. Both groups preferred group maintenance roles to group task in team working.en
dc.format.extent800337 bytes-
dc.format.extent837032 bytes-
dc.format.extent1648863 bytes-
dc.format.extent906723 bytes-
dc.format.extent1134155 bytes-
dc.format.extent843986 bytes-
dc.format.extent1015602 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.401-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectพยาบาลศาสตร์ -- หลักสูตรen
dc.subjectการเรียนแบบมีส่วนร่วมen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเชิงรุกทางการศึกษาพยาบาล ในระดับปริญญาตรีen
dc.title.alternativeA development of the active learning instructional model in nursing education at the undergraduate levelen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPateep.M@Chula.ac.th-
dc.email.advisorThidarat.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.401-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Utsanee_Te_front.pdf781.58 kBAdobe PDFView/Open
Utsanee_Te_ch1.pdf817.41 kBAdobe PDFView/Open
Utsanee_Te_ch2.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open
Utsanee_Te_ch3.pdf885.47 kBAdobe PDFView/Open
Utsanee_Te_ch4.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Utsanee_Te_ch5.pdf824.21 kBAdobe PDFView/Open
Utsanee_Te_back.pdf991.8 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.