Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9336
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีชา หงษ์ไกรเลิศ-
dc.contributor.authorไพลิน ภู่จีนาพันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-07-24T08:55:58Z-
dc.date.available2009-07-24T08:55:58Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741313365-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9336-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวคิดและพัฒนาการของการจัดการป่าไม้ของประเทศไทย ซึ่งนำมาสู่แนวทางการจัดการป่าไม้ในรูปแบบของป่าชุมชน ตลอดจนการวิเคราะห์เพื่อหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหาทางการเมืองที่สร้างอุปสรรคต่อกระบวนการทางนโยบายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย และปัญหาทางแนวคิดที่มีความแตกต่างกันระหว่างรัฐกับประชาชนในกระบวนการร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน ในการวิจัยได้อาศัยข้อมูลจากเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เอกสารทางราชการ บทความจากสิ่งพิมพ์ต่างๆ ผลงานการวิจัย ตลอดจนบทสัมภาษณ์ของบุคคลที่เกี่ยวข้องที่ได้มีการบันทึกไว้ ซึ่งเป็นฐานข้อมูลสำคัญในการอธิบายแนวความคิด โดยการศึกษาได้แบ่งช่วงเวลาการศึกษาออกเป็น 2 ช่วงหลักๆ คือ ช่วงของการก่อตัวทางนโยบายป่าชุมชนและช่วงที่มีการกำหนดร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน ซึ่งเป็นการแบ่งตามกรอบทฤษฎีของกระบวนการกำหนดนโยบาย ในการวิเคราะห์ได้อาศัยแนวคิดจากทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับข้อมูลทางวิชาการซึ่งทำให้ได้ผลวิจัย ซึ่งชี้ให้เป็นว่าปัญหาสำคัญที่มีผลต่อกระบวนการกำหนดพระราชบัญญัติป่าชุมชนมี 3 ประการคือ 1. รัฐมีลักษณะของความหวงอำนาจหมายถึงความไม่ไว้วางใจที่จะมอบอำนาจและผลประโยชน์ที่มีเหนือทรัพยากรป่าไม้ให้แก่ประชาชน จึงใช้แนวทางการรวมศูนย์อำนาจการจัดการป่าไม้ไว้ที่รัฐด้วยการออกกฎหายและนโยบายมารองรับอำนาจรัฐในการจัดการทรัพยากร 2. การมีแนวคิดที่แตกต่างกันระหว่างรัฐกับประชาชนในเรื่องความหมายของป่าชุมชนและความแตกต่างของแนวคิดเรื่องสิทธิในการจัดการป่าชุมชน ซึ่งเป็นแนวคิดที่ขัดแย้งกันในการร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน โดยเป็นความขัดแย้งในเรื่องการได้รับสิทธิการจัดการป่าชุมชนในเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 3. การขาดความต่อเนื่องในกระบวนการกำหนดนโยบาย อันเนื่องมาจากสถานการณ์ทางการเมืองที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลบ่อย ทำให้การกำหนดนโยบายและการประกาศใช้กฎหมายเกิดความชะงักงันและล่าช้าออกไป ทั้ง 3 ประการ กลายเป็นปัญหาทางการเมืองที่สำคัญ ซึ่งสร้างผลกระทบโดยตรงต่อกระบวนการรกำหนดนโยบายของรัฐ ดังนั้นต้องสนับสนุนการประกาศใช้พระราชบัญญัติป่าชุมชนที่เน้นการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาและอนุรักษ์ป่าไม้ร่วมกับรัฐen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the concept and the development of the forest management in Thailand. This will lead to the way of forest management in term of communal forestry and the analysis of problems which are the obstacle in the process of policy in managing forest resource in Thailand. In addition, the problems of issue the bill, which are the different of idea between government and public. There are three essential problems. First, the government does not decentralize power of the forestry management to the public because the government need to combine the power to the centre. They might loose the power of controlling if they let the public issue bill. Secondly, the government and the public have different philosophy of communal forestry. The government need the nation park as much as they can while the public need to expand the agricultural area. Finally, the process of issue the bill does not continue due to the situation of political change frequently. Therefore, the government have to lead to solve these problems by changing the concept from centralization. They should let the public participate in development and preserving the forest.en
dc.format.extent3290752 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectป่าชุมชน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen
dc.subjectการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ -- ไทยen
dc.subjectการจัดการป่าไม้ -- ไทยen
dc.titleปัญหาการเมืองเรื่องนโยบายป่าชุมชนในประเทศไทย : ศึกษากรณี ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ...en
dc.title.alternativePolitical problem of the communal forestry policy in Thailand : a case study of the Cimmunal Forestry Bill...en
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการปกครองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pailin.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.