Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9382
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนุสนธิ์ กลัดเจริญ-
dc.contributor.authorจตุรงค์ อมรรัตนโกศล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-07-29T11:42:41Z-
dc.date.available2009-07-29T11:42:41Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741703279-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9382-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: ปัจจุบันแนะนำให้ทำการส่องกล้องตรวจระบบทางเดินอาหารส่วนบนในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่ยังไม่เคยเกิดเลือดออกจากทางเดินอาหารส่วนบนมาก่อน แต่การคัดกรองเพื่อตรวจหาเส้นเลือดในหลอดอาหารโป่งที่มีขนาดใหญ่โดยการส่องกล้องตรวจนั้นมีราคาแพง ดังนั้นถ้าทราบว่ามีปัจจัยเสี่ยงใดบ้างที่จะใช้ในการทำนายการเกิดเส้นเลือดในหลอดอาหารโป่งขนาดใหญ่ในผู้ป่วยโรคตับแข็งก็จะได้เป็นการคัดกรองลำดับแรกก่อนนำผู้ป่วยนั้นมาส่องกล้องและให้การรักษาเพื่อป้องกันการแตกของเส้นเลือดในหลอดอาหารโป่งได้ วิธีการ: ผู้ป่วยโรคตับแข็งที่ยังไม่เคยเกิดเลือดออกจากทางเดินอาหารส่วนบนจำนวน 84 ราย ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ นำมาส่องกล้องตรวจระบบทางเดินอาหารส่วนบนแล้วนำมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดเส้นเลือดในหลอดอาหารโป่งขนาดใหญ่ กับลักษณะต่างๆ ของผู้ป่วย เช่น สาเหตุของโรคตับแข็ง การตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจอัลตราซาวด์ หรือการตรวจด้วยเอ็กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ ผลการศึกษา: ผู้ป่วยโรคตับแข็งทั้งหมด 84 ราย เป็นชาย 48 คน หญิง 36 คน (อายุเฉลี่ย 54.7 ปี) สาเหตุของโรคตับแข็งที่พบบ่อยที่สุด คือ จากเหล้า (33.3%) รองลงมาคือ ไวรัสตับอักเสบบี (23.2%) และไวรัสตับอักเสบซี (19.0%) ตามลำดับ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ เป็น Child-Pugh class B (35.7 %) รองลงมาคือ class C (33.3 %) และ class A (31.0 %) การส่องกล้องตรวจระบบทางเดินอาหารส่วนบน พบมีเส้นเลือดในหลอดอาหารโป่งทั้งหมด 55 ราย (65.5 %) โดยเป็นเส้นเลือดในหลอดอาหารโป่งขนาดใหญ่ 16 ราย (19%) ส่วนเส้นเลือดในกระเพาะอาหารโป่งพบ 14 ราย (16.6%) เกล็ดเลือด ร่วมกับน้ำในท้องและความรุนแรงของโรคตับ มีความสัมพันธ์กับการเกิดเส้นเลือดในหลอดอาหารโป่งใหญ่ อย่างมีนัยสำคัญ สรุป: เกล็ดเลือดร่วมกับน้ำในท้องและความรุนแรงของโรคตับมีความสัมพันธ์กับการเกิดเส้นเลือดในหลอดอาหารโป่งขนาดใหญ่และใช้เป็นตัวคัดกรองในผู้ป่วยโรคตับแข็ง เพื่อจะนำมาส่องกล้องตรวจระบบทางเดินอาหารส่วนบน เพื่อให้การรักษาที่จำเพาะต่อไปen
dc.description.abstractalternativeObjective: Recently it has been recommended that all cirrhotic patients without previous variceal hemorrhage undergo endoscopic screening to detect varices and those with large varices should be treated with b-blockers (American College of Gastroenterology guidelines). However, endoscopic screening only of patients at highest risk for large varices may be the most cost effective. Methods: Eighty-four cirrhotic patients without previous history of variceal hemorrhage underwent esophagogastroduodenoscopy at King Chulalongkorn Memorial hospital. Univariate/multivariate analysis was used to evaluate between the large esophageal varices and patient characteristics including etiology of cirrhosis, Child-Pugh class, laboratory parameters, ultrasound and/or CT scan of abdomen. Results: The causes of cirrhosis among the 48 men and 36 women (mean age 54.7 years) include 33% alcohol, 23% hepatitis B, 19% hepatitis C, 8% alcohol/hepatitis B, 2.4% alcohol/hepatitis B/C, 1.2% alcohol/ hepatitis C, 1.2% autoimmune hepatitis and 10.7% of unknown etiology. Patients were Child-Pugh class A 31%, B 35% and C 33%. Endoscopic findings included esophageal varices in 65% of patients (19% were large), gastric varices in 16%. Platelet, ascites and Child-Pugh class were the three factors associated with large esophageal varices by Logistic Regression Analyses. Conclusions: Platelet count, ascites and Child-Pugh class are associated with the presence of large esophageal varices and allow identification of a group of patients who would most benefit from endoscopic screening for varices.en
dc.format.extent606373 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตับแข็งen
dc.subjectตับ -- โรคen
dc.subjectภาวะเส้นเลือดขอดหลอดอาหารโป่งแตกen
dc.titleปัจจัยที่ใช้ทำนายการมีเส้นเลือดในหลอดอาหารโป่งขนาดใหญ่ ในผู้ป่วยโรคตับแข็งที่ยังไม่เคยเกิดเลือดออกจากทางเดินอาหารส่วนบนจากความดันในเส้นเลือดพอร์ทัลสูงen
dc.title.alternativeFactors predicting the presence of large esophageal varices in cirrhosis patients without previous upper gastrointestinal bleeding from portal hypertensionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jaturong.pdf592.16 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.