Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9468
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชิดพงศ์ ประดิษฐสุวรรณ-
dc.contributor.authorภรณี ศรีเสาวลักษณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-01T04:39:22Z-
dc.date.available2009-08-01T04:39:22Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746386069-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9468-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractงานวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโปรตีนเข้มข้นจากใบมันสำปะหลังจากวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของวัตถุดิบแล้วได้ศึกษาอิทธิพลของการปรับสภาพใบที่มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการสกัดโปรตีน โดยทดลองปรับสภาพใบด้วยความร้อนและสารเคมี วิธีแรกได้แช่ใบมันสำปะหลังในน้ำกลั่นซึ่งแปรอุณหภูมิ (30-60 ํC) และเวลา (0-60 นาที) ในการแช่ นำใบที่ปรับสภาพแล้วไปสกัดโปรตีนโดยปั่นใบร่วมกับบัพเฟอร์ pH 9 และแยกน้ำโปรตีนสกัด พบว่าการแช่ใบที่อุณหภูมิ 40 ํC นาน 40 นาที ให้ปริมาณโปรตีนในน้ำสกัดต่อปริมาณโปรตีนที่มีในวัตถุดิบคิดเป็นร้อยละสูงสุด (p<0.05) วิธีที่ 2 แบ่งการทดลองเป็น 3 ส่วน คือการแช่ใบในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 4% โซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.05M และโปรตัสเซียมไฮดรอกไซด์ 0.05M เทียบกับน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 30 ํC เวลา 60 นาที พบว่าการแช่ใบในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 4% ช่วยให้ปริมาณโปรตีนเพิ่มขึ้นในน้ำสกัดได้ดีที่สุด (p<0.05) จากนั้นหาความเข้มข้นที่เหมาะสมของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ที่อุณหภูมิ 30 ํC เวลา 60 นาที โดยแปรความเข้มข้นในช่วงกว้างขึ้น (0-10%) พบว่าความเข้มข้นที่ 2 3 และ 4% ให้ปริมาณโปรตีนที่สกัดได้สูงสุดซึ่งไม่แตกต่างกันทางสถิติ จึงนำช่วงความเข้มข้นนี้มาแปรร่วมกับอุณหภูมิ (30-50 ํC) และเวลา (0-60 นาที) ปรากฏว่าภาวะที่เหมาะสมที่สุดคือใช้สารละลายโซเดียมคลอไรด์ 2% อุณหภูมิ 30 ํC เวลา 20 นาที (p<0.05) ศึกษาการตกตะกอนโปรตีนเข้มข้นโดยใช้น้ำโปรตีนจากใบที่ไม่ผ่านการปรับสภาพและผ่านการปรับสภาพแล้วทั้งสองวิธี ไปปรับ pH ในช่วง 2-10 เพื่อหา pH ที่โปรตีนมีการละลายต่ำสุด พบว่าอยู่ในช่วง 3.25-4.25 ซึ่งในการทดลองจะปรับในช่วงแคบขึ้นคือ 3.7-3.75 แล้วนำไปศึกษาร่วมกับการใช้กลูตาราลดีไฮด์ (เข้มข้น 5.6M) ในการช่วยตกตะกอน โดยการแปรปริมาณที่เติมในน้ำโปรตีนสกัด (0-2.0% โดยปริมาตร) แล้วปรับ pH ที่ 3.7-3.75 พิจารณาความเข้มข้นที่ให้ค่าร้อยละปริมาณโปรตีนในโปรตีนเข้มข้น (LPC) ที่ผ่านการอบแห้ง (55 ํC 24 ชั่วโมง) ต่อปริมาณโปรตีนในน้ำสกัดสูงสุด พบว่าภาวะที่เหมาะสมในการตกตะกอนโปรตีนจากน้ำโปรตีนของใบที่ไม่ผ่านการปรับสภาพและปรับสภาพที่ 40 ํC 40 นาที ใช้กลูตาราลดีไฮด์ 0.5% โดยปริมาตร ขณะที่ใบที่ปรับสภาพโดยแช่สารละลายโซเดียมคลอไรด์ 2% ที่ 30 ํC 20 นาที ใช้ 1.0% โดยปริมาตร (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบร้อยละปริมาณโปรตีนในโปรตีนเข้มข้นแห้งต่อปริมาณโปรตีนในวัตถุดิบของทั้งสามกระบวนการผลิต พบว่า กระบวนการที่เริ่มจากการปรับสภาพใบโดยแช่น้ำกลั่นที่ 40 ํC 40 นาที ให้ค่าดังกล่าวสูงสุด (p<0.05) นำ LPC ที่ได้จากกระบวนการนี้ไปทำแห้งระบบแช่เยือกแข็งเพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ปริมาณกรดอะมิโนและสมบัติด้านการใช้งาน ซึ่งพบว่ามีโปรตีนสูงถึง 61.47% มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิกเพียง 25.30 ppm โดยน้ำหนักแห้ง (ในวัตถุดิบมี 854.91 ppm) มีกรดอะมิโนซิสทีนเป็นตัวจำกัด ส่วนสมบัติด้านการใช้งานพบว่ามีความสามารถในการดูดซับน้ำมัน และเกิดอิมัลชันค่อนข้างดีen
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research was to increase the efficiency of production of Leaf Protein Concentrates (LPC). The effect of thermal and chemical pretreatment of raw material was studied after the analysis of its chemical composition. The thermal pretreatment consisted on soaking the cassava leaves into distilled water of a variable temperature (30-60 ํC) and for a variable period of time (0-60 min). A green juice was extracted from the treated cassava leaves by pulping with pH 9 buffer. The experiments showed that the 40 ํC for 40 min condition of extraction gave the highest %protein recovery (p<0.05). For the chemical pretreatment, leaves were soaked in four treatment solutions: distilled water, 0.05M HaOH, 0.05M KOH and 4% NaCl at 30 ํC for 60 min. The suitable solution that gave the highest %protein recovery was 4% NaCl (p<0.05). Treatment was then continued with a wide range of NaCl between 0-10% at 30 ํC in 60 min. The suitable treatment range found was 2, 3 and 4%. Then the interactions of temperature (30-50 ํC), time (0-60 min) and concentration of NaCl were determined. The suitable condition found was 2% NaCl at 30 ํC in 20 min (p<0.05). The precipitation of LPC was studied by adjusting the pH of the green juice between 2-10 to determine the pH at which protein is less soluble. Every green juice sample from the treated and untreated leaves revealed the same results that protein in green juice had the least solubility at a pH 3.25-4.25. Next, the pH was narrowed to a range of pH between 3.7-3.75. To improve the LPC precipitation, the crosslinking agent, 5.6M glutaraldehyde (0-2.0% by volumn), was used while adjusting the pH between 3.7-3.75. After drying the LPC (55 ํC 24 hr.), the %protein recovery in precipitation showed that the optimum content of glutaraldehyde for green juice from untreated and thermal pretreated leaves (40 ํC 40 min) was 0.5% by volume. Chemical pretreated leaves used a 1.0% by volume (p<0.05). The comparison among the three processes of LPC production with leaf pretreatment and precipitation conditions indicated that the process which began with the thermal pretreatment gave the highest %overall protein recovery (p<0.05). LPC obtained from initial thermal pretreatment was freezed dry for analysis of its chemical composition, amino acid content and functional properties. The LPC had a 61.47% protein, content of hydrocyanic acid was found in 25.30 ppm (854.91 ppm of raw material) and cystien was the limiting amino acid. Among the functional properties were found good fat absorption and emulsifying activity.en
dc.format.extent834853 bytes-
dc.format.extent704411 bytes-
dc.format.extent990955 bytes-
dc.format.extent783377 bytes-
dc.format.extent975333 bytes-
dc.format.extent703324 bytes-
dc.format.extent1481283 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโปรตีนen
dc.subjectแทนนินen
dc.subjectไซยาโนเจนนิกไกลโคไซด์en
dc.subjectมันสำปะหลังen
dc.titleการผลิตโปรตีนเข้มข้นจากใบมันสำปะหลังโดยการปรับสภาพใบ ด้วยความร้อนและสารเคมีen
dc.title.alternativeProduction of leaf protein concentrates from cassava leaves by thermal and chemical pretreatmenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorchidph@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paranee_Sr_front.pdf815.29 kBAdobe PDFView/Open
Paranee_Sr_ch1.pdf687.9 kBAdobe PDFView/Open
Paranee_Sr_ch2.pdf967.73 kBAdobe PDFView/Open
Paranee_Sr_ch3.pdf765.02 kBAdobe PDFView/Open
Paranee_Sr_ch4.pdf952.47 kBAdobe PDFView/Open
Paranee_Sr_ch5.pdf686.84 kBAdobe PDFView/Open
Paranee_Sr_back.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.