Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไสว ด่านชัยวิจิตร-
dc.contributor.advisorไพศาล เสตสุวรรณ-
dc.contributor.authorอารดา บัญชาวิมลเชษฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-03T08:59:56Z-
dc.date.available2009-08-03T08:59:56Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740307531-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9515-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษาผลของส่วนผสมของตัวประสานต่อขั้นตอนต่างๆ ในการฉีดขึ้นรูปผงเหล็กกล้าไร้สนิม 316L และศึกษาการกำจัดตัวประสานด้วยตัวทำละลายโดยใช้ปิโตรเลียมอีเทอร์เป็นตัวทำละลาย หาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับแต่ละขั้นตอนในกระบวนการฉีดขึ้นรูปโลหะผง เมื่อใช้ตัวประสานที่มีส่วนผสมของตัวประสานต่างกัน และเลือกตัวประสานที่เหมาะสมกับการฉีดขึ้นรูปผงเหล็กกล้าไร้สนิม 316L มากที่สุด ส่วนผสมของตัวประสานที่ใช้ประกอบด้วยโพลีเอททีลีน ความหนาแน่นต่ำ (LD1630J และ LD1450J) พาราฟินแวกซ์ กรดเสตียริก และน้ำมันปาล์ม จากการทดลองพบว่า ตัวประสานที่ใช้ LD1450J 45% พาราฟินแวกซ์ 55% และเพิ่มกรดเสตียริกเข้าไป 5%โดยน้ำหนัก (B4505) เป็นตัวประสานที่เหมาะสมกับการฉีดขึ้นรูปผงเหล็กกล้าไร้สนิม 316L มากที่สุด โดยให้การกระจายของผงในตัวประสานที่ดี สามารถถูกกำจัดออกได้ง่ายและรวดเร็วโดยไม่ทำให้ชิ้นงานเสียหาย การกำจัดตัวประสานด้วยตัวทำละลายเมื่อใช้ B4505 เป็นตัวประสาน สามารถทำได้โดยการแช่ชิ้นงานในอีเทอร์ที่ 30 ํซ เป็นเวลา 1 ชั่วโมง แล้วนำไปอบแห้งที่ 50 ํซ 45 นาที จากนั้นจึงนำชิ้นงานไปแช่ในอีเทอร์ที่ 40 ํซ 4 ชั่วโมง และเปิดรูพรุนให้กับผิวชิ้นงานด้วยการนำชิ้นงานไปแช่ในอีเทอร์บริสุทธิ์ที่ 40 ํซ 2 นาที การเผาผนึกในบรรยากาศไฮโดรเจนที่ 1350 ํซ 4 ชั่วโมง ทำให้ชิ้นงานหลังการเผาผนึกมีความหนาแน่นสูง (96%จากทฤษฎี) และมีสมบัติทางกลที่ดีen
dc.description.abstractalternativeTo study effects of binder composition on each process in metal injection molding of 316L stainless steel and to study solvent debinding process by using petroleum ether as solvent. An appropriate condition for each process in metal injection molding when used different binder was studied. The most appropriate binder composition for metal injection molding of 316L stainless steel was selected. Binder composition includes low-density polyethylene (LD1630J and LD1450J), paraffin wax, stearic acid and palm oil. As a result, the binder that was made from 45 wt.% LD1450J, 55 wt.% paraffin wax and added 5 wt% stearic acid (B4505) was the most appropriate binder for metal injection molding of 316L stainless steel. It gave a good powder distribution in mixture and could be eradicated easily and rapidly. Solvent debinding for B4505 could be done. Firstly, the specimens were soaked in ether at 30 ํC for 1 hour. They were dried at 50 ํC for 45 minutes. Then, they were soaked in ether again at 40 ํC for 4 hours. Finally, wax-covered pores at specimen's surface were opened by soaking the specimens in pure ether at 40 ํC for 2 minutes. After sintering in hydrogen atmosphere at 1350 ํC for 4 hours, sintered specimens that used B4505 as binder had high sintered density (96% of theoretical density) and good mechanical propertiesen
dc.format.extent5034483 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการฉีดขึ้นรูปโลหะen
dc.subjectโลหะผงen
dc.subjectโลหะผงวิทยาen
dc.titleผลของส่วนผสมของตัวประสานต่อกระบวนการฉีดขึ้นรูปโลหะผงen
dc.title.alternativeEffects of binder composition on metal injection moldingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโลหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSawai.D@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Arada.pdf4.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.