Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9565
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์-
dc.contributor.advisorศิรประภา เปรมเจริญ-
dc.contributor.authorประภาพร วิถีสวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialสมุทรสาคร-
dc.date.accessioned2009-08-04T03:35:27Z-
dc.date.available2009-08-04T03:35:27Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743330909-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9565-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractศึกษาโครงสร้างกลุ่มประชากรของปลาในบริเวณป่าชายเลนปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร ในระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2540 ถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 รวมระยะเวลา 13 เดือน โดยทำการเก็บตัวอย่างโดยเรืออวนรุนขนาดเล็กทุก 2 เดือน ในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน จำนวนสถานีเก็บตัวอย่างรวมทั้งสิ้น 7 สถานี พร้อมกันนี้ได้ทำการตรวจวัดความเค็ม อุณหภูมิและความเป็นกรด-ด่างของน้ำควบคู่ไปกับการเก็บตัวอย่างปลา พบปลา 35 วงศ์ 73 ชนิด โดยแบ่งปลาที่พบได้เป็น 2 กลุ่ม คือปลาที่อาศัยอยู่อย่างถาวรในป่าชายเลนโดยจะอาศัยอยู่ตั้งแต่ระยะวัยอ่อนถึงระยะเต็มวัยมีทั้งสิ้น 9 วงศ์ ได้แก่ปลาในวงศ์ Clupeidae Engraulidae Hemirhamphidae Sillaginidae Leiognathidae Gerreidae Eleotridae Gobiidae และ Periophthalmidae ส่วนอีกกลุ่มเป็นปลาที่อาศัยอยู่ชั่วคราวในป่าชายเลน โดยจะเข้ามาในระยะวัยอ่อนเพื่อเป็นแหล่งอนุบาลหรือเข้ามาหาอาหารในระยะโตเต็มวัยอีกครั้งหนึ่งมีทั้งสิ้น 26 วงศ์ ได้แก่ ปลาในวงศ์ Mugilidae Polynemidae Ambassidae Carangidae และ Sciaenidae เป็นต้น ปลาที่พบเป็นกลุ่มเด่นโดยมีความชุกชุมมากที่สุดและกระจายอยู่ทั่วไปในทุกสถานีได้แก่ ปลาข้าวเม่าชนิด Ambassis gymnocephalus ปลากุเรา Eleutheronema tetradactylum และปลากระบอกดำ Liza subviridis ซึ่งปลาทั้งสองชนิดหลังนี้มีค่าผลผลิตสูงสุดด้วยในบริเวณนี้ กลุ่มประชากรของปลาในบริเวณปากแม่น้ำท่าจีนมีการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลาและฤดูกาล โดยพบว่าชนิดของปลาในช่วงเวลากลางคืนมากกว่าเวลากลางวัน ความชุกชุมและค่าผลผลิตของปลาแต่ละชนิดมีค่าสูงในช่วงฤดูฝน พ.ศ. 2540 บริเวณฝั่งบางหญ้าแพรก โดยมีความเค็มเป็นปัจจัยที่สำคัญในการจำกัดความชุกชุมและการกระจายของปลา ปลาที่จับได้จากการศึกษาครั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นปลาที่มีขนาดเล็กและอยู่ในระยะวัยรุ่น ในการศึกษาครั้งนี้พบว่าอาหารในกระเพาะปลามีทั้งสิ้น 18 ชนิด ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ดังนี้คือ กลุ่มที่เป็นแพลงก์ตอนสัตว์ ได้แก่ โคพีพอด กุ้งเคยและ แอมฟิพอด กลุ่มสัตว์พื้นทะเล ได้แก่ ไส้เดือนทะเลและหนอนตัวกลม กลุ่มสาหร่ายและแพลงก์ตอนพืช ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน ไดอะตอม ไดโนแฟลกเจลเลต และกลุ่มที่เป็นซากอินทรีย์สาร ได้แก่ซากพืชและซากสัตว์ ปลากลุ่มที่พบมากที่สุดเป็นกลุ่มที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหารและกลุ่มที่กินซากอินทรีย์สาร ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าบริเวณแนวป่าชายเลนปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาครเป็นแหล่งอนุบาลปลาวัยอ่อนและเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญสำหรับกลุ่มประชากรปลาen
dc.description.abstractalternativeThe survey on community structure of fishes in the Tha Chin mangrove estuary, Samut Sakhon province was carried out during May 1997 to May 1998 totalled 13 months. Sampling periods were scheduled bimonthly of the total 7 stations by small push net. The fish samplings were conducted twice during day and nightcatches. Salinity, temperatuures and pH were recoreded in situ. Of the total 73 species in 35 families, these fishes were classified as true mangrove dependent which were the permanent resident species in 9 families namely Clupeidae, Engraulidae, Hemirhamphidae, Sillaginidae, Leiognathidae, Gerreidae, Eleotridae, Gobiidae and Periophthalmidae. Fishes in the other 26 families, such as Mugilidae, such as Mugilidae, Polynemidae, Ambassidae, Carangidae and Sciaenidae, were those that came into the forest during sprawning period and occasionally came in to feed in the mangroves where they were matured. The three most dominant fish species in term of abundance and distribution were Perchlet Ambassis gymnocophalus, Threadfin Eleutheronema tetradactylum and Grey mullet Liza subvividis. The two latter species were also the most common in term of standing crop. Fish community structure in this area reflected day / night and seasonal variations. High diversity of fishes were recorded during night catches. High abundance and fish production were high during the wet season of 1997. Salinity plays the important role in limiting the distribution and abundance of fish in this area. Most fishes caught were immatured and in juvenile stages. As revealed from the stomach content analysis, the total of 18 food items were found. These food items comprised of zooplankton in particular copepods, Acetes and amphipods ; benthos namely polychetes and nematodes ; algae and phytoplankton namely green algae, bluegreen algae diatoms and dinoflagellates and organic detritus. Carnivorous and detritivorous fishes were the most dominant groups found in the Tha Chin mangrove estuary. This study confirmed that the Tha Chin mangrove estrary served as the nursing ground, feeding and shelters for various fishes.en
dc.format.extent824190 bytes-
dc.format.extent902881 bytes-
dc.format.extent756924 bytes-
dc.format.extent1832555 bytes-
dc.format.extent928016 bytes-
dc.format.extent717292 bytes-
dc.format.extent971315 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectป่าชายเลน -- ไทย -- สมุทรสาครen
dc.subjectนิเวศวิทยาป่าชายเลน -- ไทย -- สมุทรสาครen
dc.subjectปลา -- ประชากรen
dc.subjectแม่น้ำท่าจีนen
dc.subjectปากน้ำen
dc.titleโครงสร้างประชากรของปลาในบริเวณป่าชายเลนปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาครen
dc.title.alternativeCommunity structure of fishes in the Tha Chin mangrove estuary, Samut Sakhon provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์ทางทะเลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisornitthar@sc.chula.ac.th-
dc.email.advisorfassrp@ku.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prapaporn_Vi_front.pdf804.87 kBAdobe PDFView/Open
Prapaporn_Vi_ch1.pdf881.72 kBAdobe PDFView/Open
Prapaporn_Vi_ch2.pdf739.18 kBAdobe PDFView/Open
Prapaporn_Vi_ch3.pdf1.79 MBAdobe PDFView/Open
Prapaporn_Vi_ch4.pdf906.27 kBAdobe PDFView/Open
Prapaporn_Vi_ch5.pdf700.48 kBAdobe PDFView/Open
Prapaporn_Vi_back.pdf948.55 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.