Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ สุขสำราญ-
dc.contributor.authorเฉลิมพล มิ่งเมือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialนนทบุรี-
dc.date.accessioned2009-08-04T11:39:02Z-
dc.date.available2009-08-04T11:39:02Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746347691-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9616-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรม และระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตสุขาภิบาลที่ประธานกรรมการสุขาภิบาลมาจากการเลือกตั้ง กับสุขาภิบาลที่ประธานกรรมการสุขาภิบาลมาโดยตำแหน่ง และศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนที่อยู่ในเขตสุขาภิบาลทั้ง 2 รูปแบบ โดยเลือกศึกษาสุขาภิบาลในเขตจังหวัดนนทบุรี มีสุขาภิบาลบางศรีเมือง อำเภอเมืองนนทบุรี เป็นสุขาภิบาลที่ประธานคณะกรรมการสุขาภิบาลมาจากการเลือกตั้ง และสุขาภิบาลปลายบาง อำเภอบางกรวย เป็นสุขาภิบาลที่ประธานคณะกรรมการสุขาภิบาลมาโดยตำแหน่ง ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตสุขาภิบาลทั้งสองแห่งอยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยประชาชนในเขตสุขาภิบาลที่ประธานคณะกรรมการมาจากการเลือกตั้ง จะมีแนวโน้มการมีส่วนร่วมทางการเมืองมากกว่าสำหรับปัจจัยที่ผลต่อระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตสุขาภิบาลทั้งสองรูปแบบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ รายได้การเป็นสมาชิกกลุ่มหรือองค์กร ความคาดหวังต่อประโยชน์ของการปกครองท้องถิ่นหรือสุขาภิบาลและอุดมการณ์ประชาธิปไตย ส่วนปัจจัยที่ไม่มีผลต่อประโยชน์ของการปกครองท้องถิ่นหรือสุขาภิบาลและอุดมการณ์ประชาธิปไตย ส่วนปัจจัยที่ไม่มีผลต่อระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับการศึกษา และระยะเวลาที่อยู่ในเขตสุขาภิบาล ควรปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานของสุขาภิบาล ให้มีการบริหารงานในรูปคณะกรรมการที่มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด โดยให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานของสุขาภิบาลมากขึ้นen
dc.description.abstractalternativeThis thesis was intended to look into public behavior and participatory level in local politic, particularly in the sanitary district areas. Sanitary district in Thailand can be classified into two groups according to the types of chairman of the sanitary district : elected or ex officio. The study also talked about factors affecting popular participation in the sanitary district. Bang Sri Muang Sanitary District, with elected chairman, and Plai Bang Sanitary District, with ex officio chairman,were chosen for study. The study found that popular participation in both sanitary districts were classified as low to medium and had significant statistical differences i.e. people in elected-chairman sanitary district tended to take more role in the local political administration than those in ex officio-chairman sanitary district. It is also found that people in elected-chairman sanitary district tended to have significant difference with people in ex officio-chairman sanitary district in term of popular participation level. Factors affecting participation level in both type of sanitary district included sex, age, occupation, income, group, membership, expectation for other local benefits, and democratic ideology. Factors having no significant statistics affect in political participation level in both kinds of sanitary district were educational level and range of living period in sanitary district. The study suggested that sanitary district should be limited to only one type,i.e. with elected chairman.en
dc.format.extent1176146 bytes-
dc.format.extent1107275 bytes-
dc.format.extent2921689 bytes-
dc.format.extent1383719 bytes-
dc.format.extent1964903 bytes-
dc.format.extent1148291 bytes-
dc.format.extent2418556 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมืองen
dc.subjectสุขาภิบาลen
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น -- ไทยen
dc.subjectความคาดหวัง (จิตวิทยา)en
dc.titleการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ในการปกครองท้องถิ่นรูปแบบสุขาภิบาล : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสุขาภิบาลในเขตจังหวัดนนทบุรีen
dc.title.alternativePopular participation in local governmental sanitary district level in Thailand : comparative study of sanitary districts in Nonthaburien
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการปกครองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chalermpol_Mi_front.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpol_Mi_ch1.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpol_Mi_ch2.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpol_Mi_ch3.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpol_Mi_ch4.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpol_Mi_ch5.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open
Chalermpol_Mi_back.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.