Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9617
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวัฒนา อุทัยรัตน์ | - |
dc.contributor.author | ยุภาดี ปณะราช | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2009-08-04T11:43:32Z | - |
dc.date.available | 2009-08-04T11:43:32Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743314164 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9617 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ หลังการได้รับการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการได้รับการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการได้รับการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 จากการทำแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ฉบับก่อนการได้รับการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ และแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ในการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ จำนวน 12 จุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง โดยให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์แล้วเรียนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จากนั้นให้ทำแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 85 ให้เรียนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นครั้งที่ 2 หลังจากที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ทุกคนแล้ว ให้ทำแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบความแตกต่างของค่ามัชฌิมเลขคณิตด้วยค่าที (t-test) การวิจัยปรากฏผลดังนี้ 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังการได้รับการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนครั้งที่ 1 ผ่านเกณฑ์ 13 คน ไม่ผ่านเกณฑ์ 27 คน และหลังการได้รับการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนครั้งที่ 2 นักเรียนทั้ง 27 คน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ ร้อยละ 85 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ หลังการได้รับการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สูงกว่าก่อนการได้รับการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.นักเรียนมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์หลังการได้รับการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกงว่าก่อนการได้รับการเรียนสอยซ่อมเสริมโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were : 1. to study mathematics learning achievement of mathayom suksa one students after using computer assisted instruction (CAI) for remedial teaching. 2. to compare mathematics learning achievement of mathayom suksa one students before and after using CAI for remedial teaching. 3. to compare attitude towards mathematics of mathayom suksa one students before and after using CAI for remedial teaching. The samples were 40 mathayom suksa one students of Pakchong School in Nakornrachasima having mathematics learning achievement scores below the criterial of 60% from the mathematics achievement test before using CAI for remedial teaching. The research instruments were the mathematics achievement test and the attitude towards mathematics test. In remedial teaching the CAI with 12 objectives in "Ratio and Percentage" which constructed by the researcher was used. Then the samples were administed the mathematics achievement test and the attitude towards mathematics test. The samples who had mathematics learning achievement scores below the criteria of 85% were CAI remedial taught, and then were administed the mathematics achievement test and the attitude towards mathematics test again. The data were analyzed by means of arithmetic mean, standard diviation and t-test. The results of this research revealed that: 1. Number of students met the 85% criterion score for the first time of using CAI for remedial teaching was 13 out of 40 students. After second treatment the left 27 students met the criteria of 85%. 2. The students had mathematics learning achievement after using CAI for remedial teaching was higher than that before using CAI for remedial teaching at 0.05 level of significance. 3. The students had attitude towards mathematics after using CAI for remedial teaching was higher than that before using CAI for remedial teaching at 0.05 level of significance. | en |
dc.format.extent | 1066347 bytes | - |
dc.format.extent | 1238888 bytes | - |
dc.format.extent | 2627555 bytes | - |
dc.format.extent | 1372806 bytes | - |
dc.format.extent | 947964 bytes | - |
dc.format.extent | 1018719 bytes | - |
dc.format.extent | 2069551 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | en |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน | en |
dc.subject | การสอนซ่อมเสริม | en |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en |
dc.title | ผลของการเรียนการสอนซ่อมเสริมโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 | en |
dc.title.alternative | The effects of using computer assisted instruction for remedial teaching on mathematics learning achievement and attitude towards mathematics of mathayom suksa one students | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การศึกษาคณิตศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Suwattana.U@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Yupadee_Pa_front.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yupadee_Pa_ch1.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yupadee_Pa_ch2.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yupadee_Pa_ch3.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yupadee_Pa_ch4.pdf | 925.75 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yupadee_Pa_ch5.pdf | 994.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yupadee_Pa_back.pdf | 2.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.