Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9653
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อนุกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.author | พงษ์พันธ์ จั่นเงิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-08-05T06:24:45Z | - |
dc.date.available | 2009-08-05T06:24:45Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743339744 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9653 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | แสดงจำนวนผู้โดยสารในอนาคต ซึ่งจะทำให้การเดินทางเข้าสู่ ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งที่ 2 โดยทางถนนเกิดปัญหาอย่างรุนแรง ดังนั้นการเดินทางรูปแบบอื่น จึงนำมาพิจารณาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาดังกล่าว การศึกษาในครั้งนี้ได้นำปัจจัยมาประกอบการพิจารณา เช่น ผลทำนายปริมาณการจราจรบนโครงข่ายถนน ทั้งภายในและภายนอกท่าอากาศยานในช่วงชั่วโมงเร่งด่วน ความยาวของพื้นที่จอดรับส่งผู้โดยสารบริเวณหน้าอาคารผู้โดยสาร และระบบการเคลื่อนตัวของการจราจรบริเวณด้านหน้าอาคารผู้โดยสาร จากการวิเคราะห์เมื่อทราบว่าจำนวนผู้โดยสารเท่าใด ที่จะทำให้การเดินทางโดยถนนเกิดปัญหาแล้ว ก็ได้พิจารณาหาการเดินทางรูปแบบอื่นมาช่วยเสริม เพื่อให้การเดินทางเข้าออกท่าอากาศยานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ผลการศึกษาพบว่า การเดินทางโดยรถไฟมีความเหมาะสมที่สุด ซึ่งรถไฟที่ได้พิจารณามี 3 ชนิด ได้แก่ รถไฟความเร็วสูง (HST) รถไฟฟ้าธนายง (BTS) และการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบในด้านต่างๆ แล้วพบว่า รถไฟสายภาคตะวันออกของการรถไฟแห่งประเทศไทย มีความเหมาะสมที่สุดทั้งด้านความพร้อมของระบบที่มีอยู่ ความสามารถที่จะนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างแท้จริง และยังเสียค่าใช้จ่ายในการดำเนินการน้อยที่สุดด้วย สำหรับความเหมาะสมของสถานที่ตั้งสถานีรถไฟในใจกลางกรุงเทพนั้น ได้พิจารณาพบว่า พื้นที่บริเวณสถานีรถไฟมักกะสันมีความเหมาะสมที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อีก 2 แห่ง คือ สถานีรถไฟหัวลำโพงและพื้นที่บริเวณโรงงานยาสูบ เนื่องจากมีความเหมาะสมทั้งในเรื่องของสถานที่ตั้ง ความสามารถในการเข้าถึง ความสามารถในการจัดความถี่ได้ตามต้องการ และยังมีจุดตัดระหว่างรางรถไฟกับถนนน้อยที่สุดด้วย โดยรถไฟที่เหมาะสมจะนำมาให้บริการคือ รถไฟดีเซลรางปรับอากาศ ให้บริการระหว่าง 05.30-23.30 น. โดยมีความถี่ 15-20 นาที | en |
dc.description.abstractalternative | To verify the number of forecasted passengers which will cause accessing to the Second Bangkok International Airport by road transport to be critical, thus another mode of transportation must be found to ease the situation. In the course of the study, parameters examined include forcast yearly peak hour traffic volume on the planned and existing road network in and around the airport, curb frontage requirement and circulation system in front of the passenger terminal. Once the critical number of passengers was ascertained, other choices of transport mode were looked at and rail mode was chosen. Three types of train namely High Speed Train (HST), Evaluated Bangkok Transit System (BTS) and State Railway of Thailand (SRT) were studied for their suitabilities. State Railways of Thailand (SRT) was found to be the most appropriate in terms of availability, practicality and cost effectiveness. The most suitable location for downtown station is at Makkasan area when compared to Hua Lampong and an area belongs to the Tobacco Factory in terms of land availability, accessibility by road and rail, ease in implementation, attainable in required frequency of services and least road-rail interfaces. Type of train will be the existing diesel rail car upgraded to suit air traveler's needs with services start at 05.30 to 23.30 hrs. with the frepuency of 15-20 minute interval. | en |
dc.format.extent | 813706 bytes | - |
dc.format.extent | 741658 bytes | - |
dc.format.extent | 764284 bytes | - |
dc.format.extent | 1438917 bytes | - |
dc.format.extent | 1091720 bytes | - |
dc.format.extent | 1085692 bytes | - |
dc.format.extent | 1709367 bytes | - |
dc.format.extent | 713434 bytes | - |
dc.format.extent | 1277285 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การขนส่งมวลชน | en |
dc.subject | การเดินทาง | en |
dc.subject | สนามบิน | en |
dc.subject | รถไฟ | en |
dc.subject | ผู้โดยสารเครื่องบิน | en |
dc.title | รถไฟเพื่อให้บริการท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งที่ 2 | en |
dc.title.alternative | Rail service serving Second Bangkok International Airport | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | fceais@hotmail.com, Anukalya.I@Chula.ac.th, DirMMI@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pongphan_Ju_front.pdf | 794.63 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pongphan_Ju_ch1.pdf | 724.28 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pongphan_Ju_ch2.pdf | 746.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pongphan_Ju_ch3.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pongphan_Ju_ch4.pdf | 1.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pongphan_Ju_ch5.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pongphan_Ju_ch6.pdf | 1.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pongphan_Ju_ch7.pdf | 696.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pongphan_Ju_back.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.