Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9700
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล-
dc.contributor.advisorอรทิพา เศรษฐบุตร-
dc.contributor.authorสุจิณณา คุณรักษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-06T02:06:19Z-
dc.date.available2009-08-06T02:06:19Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740305172-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9700-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractเชื้อไรโซเบียมถั่วมะแฮะ 32 ไอโซเลท ที่แยกได้จากดินในพื้นที่โครงการสร้างป่าตามแนวพระราชดำริและป่าพันธุกรรม พืช ในเขตอุทยานแห่งชาติทับลาน จังหวัดนครราชสีมา พบว่าเชื้อไรโซเบียมถั่วมะแฮะเป็นไรโซเบียมกลุ่มเจริญช้าทั้งหมด และเมื่อทำการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรม ได้แก่ การทดสอบความสามารถในการต้านยาปฏิชีวนะของเชื้อไรโซเบียม พบว่า เชื้อไรโซเบียมมีรูปแบบการต้านยาปฏิชีวนะที่แตกต่างกัน 9 กลุ่ม และการศึกษาพลาสมิดโพรไฟล์ของเชื้อไรโซเบียม พบว่า เชื้อไรโซเบียมมีพลาสมิด จำนวน 1 อัน ขนาดประมาณ 600 เมกะดาลตัน ซึ่งเป็นพลาสมิดขนาดใหญ่ และการทดสอบความสามารถในการทดเค็มของเชื้อไรโซเบียม พบว่า เชื้อไรโซเบียมมีความสามารถในการอยู่รอดลดลงเมื่อระดับความเข้มข้นของเกลือ NaCl เพิ่มสูงขึ้น โดยที่ระดับ 150 mM NaCl จะไม่พบการเจริญของเชื้อไรโซเบียม แต่พบการเจริญของเชื้อไรโซเบียม ที่ระดับ 100 mM NaCl ซึ่งไอโซเลทที่เจริญได้สูงสุด ได้แก่ ไอโซเลท RC20 และการศึกษาประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนของเชื้อไรโซเบียมโดยพิจารณาจากผล ที่ได้จากการวัดกิจกรรมของเอ็นไซม์ไนโตรจีเนส (ค่า ARA) พบว่า ไอโซเลทที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ได้แก่ ไอโซเลท RC21 โดยข้อมูลที่ได้จากการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อไรโซเบียมถั่วมะแฮะ นี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดจำแนกและคัดเลือกรวมทั้งเก็บรวบ รวมสายพันธุ์ไรโซเบียมถั่วมะแฮะที่มีประสิทธิภาพ เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมต่อไปen
dc.description.abstractalternativeThirty-two soil Bradyrhizobium isolates from the forest-reviving at the royal suggestions and plant germplasm forest project in Tablan National Park, Nakhon Ratchasima province were shown to be of a slow-growing group. They also exhibited 9 patterns of antibiotic resistance when tested with seven different antibiotics. They possessed a single 600-megadalton plasmid. All Bradyrhizobium growth decreased with increasing level of salt. Nine isolates survived at 100 mM NaCl, with RC20 grew best. RC21 isolate showed highest nitrogen fixation effciency based on nitrogenase activity. The obtained genetic information will help characterize Bradyrhizobium host specificity for better and more efficient use in future reforestation projectsen
dc.format.extent3328554 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectถั่วมะแฮะen
dc.subjectไรโซเบียมen
dc.titleความหลากหลายทางพันธุกรรมของ Rhizobium sp. ในถั่วมะแฮะ Cajanus cajan (L.) Mill sp.ในเขตอุทยานแห่งชาติทับลาน จังหวัดนครราชสีมาen
dc.title.alternativeGenetic diversity of Rhizobium sp. in pigeon pea Cajanus cajan (L.) Mill sp. at Thab Lan National Park in Nakhon Ratchasima Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพันธุศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWarawut.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sujinna.pdf3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.