Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9783
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา สุคนธทรัพย์-
dc.contributor.authorกรรณิกา ดาวไธสง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-07T04:16:15Z-
dc.date.available2009-08-07T04:16:15Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741755287-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9783-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาวะสุขภาพของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และเปรียบเทียบสภาวะสุขภาพของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลตามตัวแปรขนาดของเทศบาล และตัวแปรเพศ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองทุกกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดเทศบาล จำนวน 500 คน เป็นนักเรียนชาย 250 คน นักเรียนหญิง 250 คน ได้รับแบบสอบถามคืนกลับมา 450 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า "ที" และ "ค่าเอฟ" ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาวะสุขภาพทางกายและสภาวะสุขภาพทางจิตของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดเทศบาล โดยทั่วไปอยู่ในระดับปกติ 2. เมื่อเปรียบเทียบสภาวะสุขภาพทางกายและสภาวะสุขภาพทางจิตตามขนาดของเทศบาล พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เมื่อเปรียบเทียบสภาวะสุขภาพทางกายและสภาวะสุขภาพทางจิตโดยรวมและรายด้านตามตัวแปรเพศ พบว่าสภาวะสุขภาพทางกายมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ในด้านความสะอาดของร่างกายและเสื้อผ้า ส่วนสภาวะสุขภาพจิตไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to study and compare health status of prathom suksa six students from 50 schools under the municipal authority. The constructed questionnaires were sent to 500 students, but only 450 questionnaires, accounting for 90 percent were returned. The data were then analyzed to obstain percentages, means and standard deviations. The t-test was utilized to determine the significant differences at .05 level. One-way analysis of variance and Scheffe' test were also applied to test the significant differences. The results revealed as follow : 1. Health status of prathom suksa students were found at normal level. 2. There were no significant differences at .05 in comparing student's health status according to their school sizes. 3. There were significant differences at .05 according to students' cleanliness of their bodies and dress, while there were no significant difference at .05 in their mental health.en
dc.format.extent2104977 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.154-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา -- สุขภาพและอนามัยen
dc.subjectโรงเรียนเทศบาลen
dc.titleสภาวะสุขภาพของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลทั่วประเทศen
dc.title.alternativeHealth status of prathom suksa six students in schools under the municipal authorityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuchitra.Su@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.154-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kannika.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.